Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2215
Title: FACTORS INFLUENCING THE INTENTION TO USE WECHAT PAYMENT IN GUANGXI UNIVERSITY OF FOREIGN LANGUAGES: A CASE STUDY OF UTAUT2 MODEL
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจใช้บริการการชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นวีแชท ในมหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศกว่างสี: กรณีศึกษา ส่วนขยายทฤษฎีรวมการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี
Authors: Nan Yang
Nan Yang
Sutthikarn Khong-khai
ศุทธิกานต์ คงคล้าย
Maejo University
Sutthikarn Khong-khai
ศุทธิกานต์ คงคล้าย
Sutthikarn@mju.ac.th
Sutthikarn@mju.ac.th
Keywords: โมเดล UTAUT2
ความตั้งใจใช้
การชำระเงินด้วยวีแชท
การทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
UTAUT2 Model
Intention to Use
WeChat Payment
E-business
Issue Date: 2024
Publisher: Maejo University
Abstract: This study examines the factors influencing the intention to use WeChat Payment among college students at Guangxi University of Foreign Languages, employing multiple regression analysis to assess the impact of various constructs from the Unified Theory of Acceptance and Use of Technology 2 (UTAUT2) model. Analyzing data from 400 students through online questionnaires, the study finds that Social Influence, Facilitating Conditions, Hedonic Motivation, Price Value, and Habit significantly influence the intention to use WeChat Payment, while Performance Expectancy and Effort Expectancy do not. The regression model explains 81.8% of the variance in user intention (R² = 0.818), highlighting Habit as the strongest predictor. These results contribute to the understanding of digital payment adoption within the unique cultural and technological context of a Chinese university, offering insights for future technology adoption strategies and research into the integration of new and traditional payment technologies.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นวีแชท (WeChat) ในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศกว่างสี โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เพื่อประเมินผลกระทบของปัจจัยต่างๆ โดยนำแบบจำลองทฤษฎีรวมการยอมรับและการใช้เทคโนโลยีของโครงสร้างต่างๆ (Unified Theory of Acceptance and Use of Technology 2, (UTAUT2)) มาปรับใช้ เก็บข้อมูลจากศึกษาจำนวน 400 ราย  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามออนไลน์ ผลการศึกษาพบว่า อิทธิพลทางสังคม ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม แรงจูงใจด้านความบันเทิง การรับรู้คุณค่าด้านราคา และนิสัย มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญต่อความตั้งใจที่จะชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นวีแชท (WeChat) ในขณะที่ปัจจัยด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ และความคาดหวังในความพยายามไม่ได้มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญ แบบจำลองการถดถอยอธิบายความแปรปรวนขอความตั้งใจของผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นวีแชท (WeChat) เพื่อการชำระเงินร้อยละ 81.8 (R² = 0.818) โดยตัวแปรนิสัยเป็นตัวทำนายที่มีอิทธิพลมากที่สุด ผลการศึกษาในครั้งนี้ช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการนำการชำระเงินดิจิทัลมาใช้ในบริบททางวัฒนธรรมและเทคโนโลยีที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในประเทศจีน โดยให้ข้อมูลเชิงลึกสำหรับกลยุทธ์การนำเทคโนโลยีมาใช้ในอนาคตและการวิจัยเกี่ยวกับการผสานรวมเทคโนโลยีการชำระเงินใหม่และแบบดั้งเดิม
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2215
Appears in Collections:Maejo University International College

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6416303007.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.