Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประเสริฐ ต่ออภิชาติตระกูล, Prasert Toaphichattrakul-
dc.date.accessioned2024-06-28T07:04:53Z-
dc.date.available2024-06-28T07:04:53Z-
dc.date.issued1991-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2177-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านพุทธินิสัยของเกษตรกรจากรายการวิดีทัศน์ที่มีสิ่งเร้าความสนใจ, รายการวิดีทัศน์ที่มีคำถามสอดแทรกระหว่างเรื่อง และรายการวิดีทัศน์ปกติการวิจัยได้ใช้การทดลองแบบ The randomized posttest-onlycontrol group design โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นเกษตรกรในตำบลบ้านกาด อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 120 คน ซึ่งได้มา โดยการสุ่มแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 40 คน กลุ่มแรก เป็นกลุ่มควบคุมและอีกสองกลุ่มเป็นกลุ่มทดลองกลุ่มควบคุมให้ชมรายการวิดีทัศน์ปกติ ส่วนกลุ่มทคลองให้ชมรายการวิดีทัศน์ที่มีสิ่งเร้าความความสนใจ 1 กลุ่ม และอีก 1 กลุ่ม ให้ชมรายการวิดีทัศน์ที่มีคำถามสอดแทรกระหว่างเรื่อง รายการวิดีทัศน์ที่ใช้ทดลองมี 2 เรื่อง คือ เรื่องการปลูกแดงโมและการปลูกฝรั่ง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและแบบทคสอบผลการเวียนรู้ โดยการสอบถามข้อมูลพื้นฐาน และให้เกษตรกรชมรายการวิดีทัศน์ตามหน่วยทคลองของแต่ละกลุ่ม แล้วทดสอบความรู้ที่ได้รับด้วยแบบทดสอบ จากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย,ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, x"-test, F-test และ Least Significant Difference (LSD) ผลการวิจัยพบว่า 1 . ผลการวิจัยธัมูลพื้นฐานบางประการของเกษครกรทั้ง 3 กลุ่ม ซึ่งได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา , สมรรถานทางการศึกษา, อาชีนหลักทางการเกษตร, การใช้เครื่องรับโทรทัศน์, ความถี่ของการชมรายการโทรทัศน์ทางการเกษตร, แหล่งข่าวสารความรู้ทางการเกษตร, การฝึกอบรมความรู้เรื่องการปลูกแตงโมและฝรั่ง,ความสนใจในการปลูกแตงโมและฝรั่ง และความรู้ขึ้นฐานเรื่องการปลูกแตง โมและฝรั่ง มีการกระจายในสีดส่วนที่เหมาะสม และเมื่อวิเคราะห์ชัอมูลขึ้นฐานดังกล่าวในแต่ละกลุ่ม ปรากฏว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ผลการเรียนรู้ด้านพุทธินิสียในระดับรู้คือความสามารถในการจำเนื้อหาความรู้หลังชมรายการวิดีทัศน์ ที่ใช้ เทคนิคการผลิตแตกต่างกัน 3 แบบ จากการวิเคราะห์ คะแนนของแบบทดสอบจากรายการวิดีทัศน์เรื่องการปลูกแตงโม, การปลูกฝรั่ง และคะแนน 2 เรื่องรวมกันปรากฏว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อรายการวิดีทัศน์ที่นำเสนอเรื่องการปลูก แดงโมและการปลูกฝรั่งอยู่ในระดับคีปานกลางหมายความว่ารายการวิดีทัศน์ที่นำเสนอมีคุณภานและความสมบูรณ์อยู่ในระดับปานกลาง""en_US
dc.subjectพุทธิพิสัยen_US
dc.subjectวีดิทัศน์en_US
dc.subjectสิ่งเร้าen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.subjectบ้านกาดen_US
dc.subjectสันป่าตองen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.titleผลการเรียนรู้เชิงพุทธิพิสัยจากรายการวีดิทัศน์ที่มีสิ่งเร้าใจกับรายการวิดิทัศน์ที่มีคำถามสอดแทรกระหว่างเรื่องของเกษตรกร ตำบลบ้านกาด อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of attention gaining cues and question inserting techniques used in television program toward the cognitive domain learning of the farmers in tambon Bangard, Sanpatong district, Chiangmiaen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Liberal Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
prasert-toaphichattrakul.PDF2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.