Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/217
Title: DETECTION OF BIRDS ON SOLAR PV ROOFTOP USING IMAGE PROCESSING
การตรวจหานกบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา โดยใช้การประมวลผลภาพ
Authors: Kunyanat Thongtep
กัญญานัฐ ทองเทพ
Thongchai Maneechukate
ธงชัย มณีชูเกตุ
Maejo University. School of Renewable Energy
Keywords: แผงเซลล์แสงอาทิตย์, การประมวลผลภาพ, การตรวจจับตำแหน่ง, ทฤษฎีสามเหลี่ยม, นก
solar panel, image processing, position detection, triangle theory, bird
Issue Date: 2018
Publisher: Maejo University
Abstract: Problems encountered in solar power plant is shadow of birds, bird feces, leaves, and other objects on the solar panel. If it is not cleaned or eliminated the shade area will influence accumulated heat on the solar panel which may results in damages, accidents as well as that it also reduce the efficiency in generating electricity. This thesis proposes the identification of birds with inanimate objects (Leaf or bird droppings) to handle the problem effectively and finding location of foreign objects on the solar panels by using Triangle theory. The solar panels are square in shape, the same size and are lined up in square shape. The distance between each solar panel is in accordance with engineering design. The system error is 23.14%. A reference point for mathematical principle is used when the object location on the panels is found. After which a robot or cleaning equipment is used for cleaning it correctly and accurately. This object classification can be applied to other safety tasks, setting off an alarm when movement is detected after a specific time like in monitoring babies or the elderly.
ปัญหาที่พบในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ส่วนหนึ่งเป็นปัญหาเรื่องเงาบัง ทั้งมาจากเงาบังของนก, มูลนก, ใบไม้ และวัสดุอื่นๆ ที่ตกอยู่บนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ หากไม่ได้รับการทำความสะอาดเป็นเวลานานจะเกิดเป็นจุดร้อนบนแผง ทำให้เกิดอุบัติเหตุแผงไหม้หรือทำลายโครงสร้างของแผงและลดประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า การติดตั้งแผงในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์นั้นใช้พื้นที่ติดตั้งเป็นจำนวนมาก โรงไฟฟ้าจึงมีขนาดใหญ่และพื้นที่กว้าง เพื่อความแม่นยำของการหาตำแหน่งวัตถุบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ให้สามารถจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา งานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอการจำแนกนกกับสิ่งไม่มีชีวิต (ใบไม้หรือมูลนก) เพื่อให้จัดการกับปัญหาได้อย่างเหมาะสม จากนั้นหาตำแหน่งวัตถุบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ด้วยวิธีทฤษฎีสามเหลี่ยม (Triangle theory) เพื่อบอกตำแหน่งวัตถุแปลกปลอม โดยการเทียบตำแหน่งวัตถุที่ตรวจพบกับกรอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์นั้นๆ ใช้คุณสมบัติของแผงที่เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดเดียวกัน ลักษณะการจัดเรียงแผงที่เป็นรูปแบบตาราง มีระยะห่างระหว่างแต่ละแผงคงที่ตามการออกแบบทางวิศวกรรม ผลของการทดสอบความเชื่อถือได้ของระบบมีคลาดเคลื่อน 23.14% หลักการจำแนกวัตถุนี้สามารถประยุกต์ใช้กับงานด้านความปลอดภัยอื่นได้ เช่น การตรวจจับทารก ผู้สูงอายุ ซึ่งมีการเคลื่อนไหวตามช่วงเวลาเฉพาะตัว เพื่อแสดงสัญญาณเตือนเมื่อสิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีการนิ่งเกินกว่าเวลาที่กำหนด และปรับใช้การหาตำแหน่งวัตถุใดๆ ที่อยู่บนโครงสร้างที่มีการเขียนแบบกำหนดขนาดที่แน่นอน มีจุดอ้างอิง ใช้หลักการคณิตศาสตร์หาตำแหน่งวัตถุ เมื่อทราบตำแหน่งของวัตถุจะสามารถดำเนินการสื่อให้หุ่นยนต์หรืออุปกรณ์ทำความสะอาดเข้าถึงวัตถุเป้าหมายได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
Description: Master of Engineering (Master of Engineering (Renewable Energy Engineering))
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงานทดแทน))
URI: http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/217
Appears in Collections:School of Renewable Energy

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5915301002.pdf19.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.