Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2147
Title: ความคิดเห็นของเกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลืองต่อการใช้ประโยชน์จากซากถั่วเหลืองในเขตตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Opinions on utilization of soybean waste materials of soybean growers in maefag sub-disirict, Sansai district, Chiang Mai province, Thailand
Authors: เอนก บุญยืน, anake boonyuean
Keywords: สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้วิทยานิพนธ์
เกษตรกร
ไทย
เชียงใหม่
การส่งเสริมการเกษตร
เทคโนโลยีการเกษตร
ถั่วเหลือง
Issue Date: 1993
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: การศึกษาความคิด เห็นของเกษตรกรผู้ปลูกและใช้ประโยชน์จากชากถั่วเหลืองในเขตตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ เพื่อศึกษาถึงลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคมของ เกษครกรผู้ปลูกถั่วเหลืองและใช้ประโยชน์จากชากถั่วเหลือง และ เพื่อศึกษาถึงความคิด เห็นของผู้ปลูกถั่วเหลืองต่อการนำซากถั่วเหลืองไปใช้ประโยชน์ในฟาร์ม การรวบรวมข้อมูลได้กระทำระหว่างปี 2532-2533 ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ ป็นรายบุคคลจำนวนทั้งสิ้น 149 คน ซึ่งลัวนแต่เป็นเกษตรกรผู้ปลูกและใช้ประโยชน์จากซากถั่วเหลืองที่ได้รับคัดเลือก โดยเกษตรอำเภอสันทราย ให้เป็นบุคคลเป้าหมายสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ ข้อมูลที่ได้รวบรวมได้ ได้นำไปวิเคราะห์และสรุ่ปผล เพื่อจัดทำรายงานต่อ ไป และผลการวิจัยพอสรุปได้ดังนี้ 1.เกษตรกรผู้ให้ชื่อมูลส่วนใหญ่เป็นเ พศชาย มีระดับการศึกษาชั้น ป.4 มีอายุอยู่ในวัยกลางคน หรือวัยทำงานคือ 36-60 ปี มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ยประมาณ 6 ไร่ มีรายได้จากกาคเกษตรกรรมโดย เฉลี่ยประมาณ 23,750 บาท แหล่งรายได้ที่สำคัญ 3 อันดับแรกเรียงตามลำดับได้แก่ ข้าว ถั่วเหลือง และมันฝรั่ง จำนวนผู้ให้ชื่อมูลกว่าร้อยละ 50 ไม่เคยมีการติดต่อใด ๆ กับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของรัฐ ใช้หว่านโดยตรงในไว่นาแล้วไถกลบ ใช้ เป็นวัสดุคลุมดินในแปลงปลูกพืชและ/หรือคลุมโคนไม้ผลนอกจากนั้น กษตรกรบางราชยังมีแนวคิดในการนำชากถั่วเหลืองไปใชีประโชน์เพื่อการเพาะเห็ดส่วนที่ระบูว่ามีการนำไปใช้เลี้ยงสัตว์นั้นมีเพียงรายเดียว 3. เกี่ยวกับปัฏหาในการนำซากถั่วเหลืองไปใช้ประ โยชน์ดังกล่าวมีผู้ให้ข้อมูลบางรายประสพปัญหาในทางปฏิบัติ เช่น ระบุว่า เป็นการสร้างภาระความยุ่งยากในการขนย้าย กองซากถั่วเหลืองเป็นแหล่งอาศัยและแพพันธ์ของเชื้อรา และแมลงจำพวกไร อย่างไรก็ดีผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ไม่ถือว่าสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวเป็นปัญหาที่สำคัญ และระบุว่าไม่เคยมีปัญหาในทางปฏิบัติแต่อย่างใด 2. เกษตรกรผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีแนวความคิดในการนำซากถั่วเหลืองไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่งในการใช้ประโยชน์เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำเช่น ใช้ทำปุ๋ยหมัก
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2147
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anake-Boonyuean.PDF2.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.