Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2110
Title: | ปัญหาและความต้องการด้านการผลิตและการตลาดของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ในจังหวัดเชียงใหม่ |
Other Titles: | Problems and needs on production and marketing of layer chicken raisers in Chiangmai Province, Thailand |
Authors: | ศรีไล หล้าราช, srilai-larrach |
Keywords: | เกษตรกร ไทย เชียงใหม่ |
Issue Date: | 1995 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา (1) ลักษละส่วนบุคคล และลักษณะการดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่ของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ 2) ระดับของปัญหาและความต้องการด้านการผลิตและการตลาด และ (3) ความแตกต่างของระดับปัญหาและความต้องการด้านการผลิตและการดลาดของ เกษดรกรผู้เลี้ยงไก่ไม่ ที่ทำฟาร์มขนาดต่าง ๆ ผู้ให้ช้อมูลในการวิจัยครั้งนี้คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างจำนวน 139 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามที่รวบรวมข้อมูลซึ่งข้อมูลได้นำมาเกี่ยวกับระดับองปัหาและความต้องการของ เกษดรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์(SPSS/PC*) ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไช่ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุเฉลี่ย 41 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาตอนต้น มีประสบการณ์ในการเลี้ยงไก่ไข่โดยเฉลี่ยเกษตรกรส่วนมากมีที่ดินเป็นของตนเอง และมีพื้นที่ในการเลี้ยงไก่ไข่เฉลี่ยคนละ 4 ไร่โดยเกษครกรจะเลี้ยงไก่ไข่เฉลี่ยคนละ 4,024 ตัว บนกรงตับและใช้อาหารสำเร็จรูปในการเลี้ยงไก่ไข่ สำหรับเงินทุนที่ใช้ในการเลี้ยงไก่ไนั้น เกษตรกรใช้เงินทุนของตนเองและมีรายได้สุทธิ เฉลี่ย 318, 712 บาทต่อปี เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ได้ดิดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรหรือเจ้าหน้าที่จากกรมปศุสัตว์ และได้เข้าร่วมประชุม ฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูน (11) ความรู้ในการเลี้ยงไก่โดยเฉลี่ย 1 ครั้งต่อปี และเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของชมรมผู้เลี้ยงไก่ไข่ในจังหวัดเชียงใหม่เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่มีปัดูหาทั้งหมดในด้านการผลิต และการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง โดยเกษตรกรมีปัเหาเงินทุน โรงเรือน อุปกรณ์การเลี้ยง พันธุ์ไก่ อาหารไก่ไข่ ยาและเวชวัดฑ์ การจัดการและสุขาภิบาล และราคาไข่ไก่ อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัถูหาพื้นที่ของฟาร์ม แรงงาน และตลาดไข่ไก่นั้น เกษตรกรมีปัญหาในระดับน้อยส่วนความต้องการทั้งหมดในด้านการผลิตและการตลาดนั้นเกษตรกรต้องการในระดับปานกลาง โดย กษตรกรมีความต้องการด้านพันธุ์ไก่ อาหารไก่ไช่ ราคาไข่และตลาดไข่ไก่อยู่ในระดับมาก ส่วนเงินทุนในการเลี้ยงไก่ไข่ พื้นที่ของฟาร์ม โรงเรือนอุปกรณ์การเลี้ยงยาและเวชวัณห์ แรงงานและการจัดการและสุขาภิบาลไก่ไข่นั้น เกษตรกรมีความต้องการในระดับปานกลาง ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของระดับปัญหาด้านการผลิตและการตลาดของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ที่ทำฟาร์มขนาดต่าง ๆ พบว่า ปัญหาด้านการผลิตและการตลาดได้แก่ มีญหาเงินทุน พื้นที่ของฟาร์ม โรงเรือน อุปกรณ์การเลี้ยง พันธุ์ไก่ อาหาร ยาและเวชวัณฑ์ แรงงาน การจัดการและสุขาภิบาล ราคาไข่และตลาดไข่ไก่ของฟาร์มขนาดเล็กกลาง และใหญ่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับความแตกต่างของระดับความต้องการด้านการผลิตและการตลาดของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ที่ทำฟาร์มยนาดต่าง ๆ กันนั้น มีความต้องการด้านการผลิคเพียงตัวแปรเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความต้องการด้านพื้นที่ของฟาร์ม โรงเรือน อุปกรณ์การเลี้ยง แรงงาน และการจัดการและสุขาภิบาล ส่วนความต้องการด้านเงินทุน พันธุ์ไก่ อาหาร และยาและเวชภัณฑ์ไก่ไข่นั้น ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัทางสถิติ และพบว่าความต้องการด้านการตลาด ได้แก่ ราคาไข่ไก่และตลาดไข่ไก่ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2110 |
Appears in Collections: | Economics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
srilai-larrach.PDF | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.