Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorไพทูรย์ สิงหวรรณุรัตน์, paitoon singhawannurat-
dc.date.accessioned2024-04-24T07:39:30Z-
dc.date.available2024-04-24T07:39:30Z-
dc.date.issued1994-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2094-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ประสิทธิภานในการผลิตมันฝรั่งของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรชาวไร่ป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาถึงสภานทั่วไปของสมาชิก (2) เพื่อศึกษาหาฟิงก็ชีนการผลิตและประสิทธิภานในการใช้ปัจจัยการผลิดมันฝรั่ง (3) เพื่อศึกษาค้นทุนและผลตอบแทนในการปลูกมันฝรั่ง (4) เพื่อศึกษาวิถีการตลาดมันฝรั่ง (5) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปลูกมันฝรั่งในการศึกษาเรื่องนี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรกั้งหมด 112 คน ซึ่งเป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกรชาวไร่ป่าไผ่ที่ปลูกมันฝรั่งพันธุ์เคนนิเบค (Kenebec) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามพร้อมการสัมภาษณ์ ซึ่งข้อมูลที่ได้มานั้นวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS/PC โดยใช้วิธีหาค่าต่าง ๆ เช่น ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต การวิเคราะห์การถดถอย และ Durbin-Watson Test โดยใช้สมการการผลิตแบบ Cobb-Doug las เพื่อวิเคราะห์หาฟังก์ชันการผลิตและประสิทธิภาพในการใช้ปัจจัยการผลิตมันฝรั่งของสมาชิก ผลการศึกษาพบว่า สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 87.50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 12.50 อายุเฉลื่ยของสมาชิก 39.03 ปีส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป. 1-ป. 4 คิดเป็นร้อยละ 86.61 ขนาคครอบครัวของสมาชิกเฉลื่ยครัวเรือนละ 3.89 คน อาชีพหลักคือการทำนาและปลูกมันฝรั่งผลการศึกษาฟังก์ชั่นการผลิต และประสิทธิภาพปัจจัยการผลิตที่มีความสัมพันธ์กับผลผลิตมันฝรั่งมากที่สุดคือ 2 เมล็ดพันธุ์ รองลงมาได้แก่ ยาปราบศัตรูพืช, แรงงาน และปุ๋ย ตามลำดับ วันมีอิกธิพลต่อผลผลิตมันฝรั่งเท่ากับ 38.26 เปอร์เชนด์ ส่วนที่เหลืออีก 31.74 เฮอร์เชณ์ด์ เป็นผลที่เกิดจากปีววัยอื่น ๆ เช่น สภาพแวดล้อม 1 , แสงแดด, อุณหภูมิ และความใน เป็นต้นผลการศึกษาประสิทธิกานทางเทศนิค พบว่า ปีจจัยที่มีผลผลิดเพิ่มหน่วยสุดท้ายมากที่สสุดคืออาปราบศีตรูพืช รององมาได้แก่ เมล็หันธุ์, แรงงาน และปูธ คามลำดับ ส่วหการศึกษาประสิทธิกานทางเศรษรกิจ พบว่า สมาชิกมีการใช้ปีจจัยการผลิตทางเศรษฐกิจกิจให้มีประสิทธิภาพ และการผลิตมันฝรั่งของสมาชิกอยู่ในระยะผลได้เพิ่มขึ้น กล่ลือสมาชิกสามารถที่จะเพิ่มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิดทิ้ง 4 ชนิด เพื่อเป็นการเพิ่มผลมคิดมันฝรั่งให้สูงขึ้นกว่าเดิมผลการศึกษาวิถีการคลานกุนและแลตอบแทน ในด้านวิธีการคลาดนั้นผลผลิตมันฝรั่งของสมาชิกทุกคนจะถูกส่งไปรายให้กับบริษัก เอ็น. เรส.น่าร์ม จำกัด(ลำพูนแห่งเดียวเท่านั้น โดยกางบริษัทจะรับซื้อในราคากิโลกรัมและ 5.50 บาท ร่วนต้นทุนและผลตอบเห็นว่าสมาชิกประสบกับการธาดกุนกล่าวคือ มีรายได้สุทธิเหนือลันดูนได้สุทธิเหนือต้นทุนผนแปรมีคำติดลบ คือ -9200.3 และ -5701.69 บาทต่อไร่ตามลำคับ สมาชิกรังหอได้รับกำไรอยู่ข้างซึ่งเท่ากับ 2632.22 บาทต่อไร่ผลการศึกษาปัฏตาและอุปสรรค์ในการปลูกมีนฝรั่ง ปัญนาที่นบ คือ การทำลายของโรคและแมลง โรคที่ทำความเสียหายให้แก่มันฝรั่งเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้แก่โรคโคนเน่า,โรคใบใหม้, หนอนผีเสื้อเจาะหัวมันฝรั่ง, หัวพันธุ์มันฝรั่งเน่า, โรคใบเหี่ยวและหนอนกระทู้en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectมันฝรั่งen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.subjectแง่เศรษฐกิจen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.subjectไทยen_US
dc.titleประสิทธิภาพในการผลิตมันฝรั่งของสมาชิกกลุ่มเกษตรชาวไร่ป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2535/2536en_US
dc.title.alternativeChawraipaphai Agriculturers' Group, Amphur Sansai, Chiangmai Province, crop year 1992/1993en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
paitoon-singhawannurat.PDF1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.