Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2071
Title: ความพึงพอใจในงานที่ต้องปฏิบัติของพนักงานพิทักษ์ป่า ประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Job satisfaction of national park rangers in Chaingmai Thailand
Authors: สวัสดิ์ ทวีรัตน์
Keywords: พนักงานพิทักษ์ป่า
ความพอใจในการทำงาน
Issue Date: 2000
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1 ลักษณะพื้นฐานทั่วไปส่วนบุคคลเศรษฐกิจและสังคม ของหนักงานพิทักษ์ป่าประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่2.) ความพึงพอใจในงานที่จะต้องปฏิบัติของหนักงานพิทักษ์ป่าประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดชียงใหม่ และ 3.) ปัญหาและอุปสรรคในงานที่จะต้องปฏิบัติของพนักงานพิทักษ์ป่าประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่ รวมทั้งข้อเลนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานพิทักษ์ป่าประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน101 คน การรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน 254 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ( SPSS / PC*ผลการวิจัยสรุปดังนี้ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 40 ปี และเป็นผู้สมรสแล้วผู้ให้ข้อมูลเกือบครึ่งหนึ่งมีวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและต่ำกว่า และอายุปฏิบัติงานในตำแหน่งพนักงานพิทักษ์ป่า โดยเฉลี่ยประมาณ 11 ปี รวมทั้งผลการวิจัยยังพบว่าผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ยังไม่เคยได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นคำจ้างประจำปีเป็นกรณีพิเศษเลยเป็นสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ของกรมบำาไม้และได้ ในประเด็นของความพึงพอใจในงานที่ต้องปฏิบัติของพนักงานพิทักษ์ป่าประจำอุทยานแห่งชาติในจังหวัดเชียงใหม่ บว่าหนักงานพิทักษ์ป่ามีความหึงพอใจในระดับมากจำนวน 3 ด้าน คือ นโยบายของกรมบำไม้ด้านการจัดการอุทยานแห่งชาติ การบริหารและจัดการของผู้บังคับบัญชาและการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา และความพึงพอใจในระดับปานกลาง จำนวน 4 ด้าน คือ ความรับผิดชอบและความร่วมมือในการปฏิบัติงานของผู้ร่วมงาน ราษฎรในพื้นที่ใกลัเคียงและในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และผลประโยชน์ ค่าตอบแทน จากการปฏิบัติงานในพื้นที่อุทยานแห่งชาติสำหรับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของหนักงานพิทักษ์บำประจำอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดเขียงใหม่ มีดังนี้ 1.) บัญหาเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ 2.) ปัญหาบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ 3.) ปัญหาเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์อื่น ๆ 4) ปัญหาเกี่ยวกับเงินงบประมาณและการเก็บค่าธรรมเนียม และ 5. ปัญหาการบริหารและจัดการภายในหน่วยงาน""
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2071
Appears in Collections:BA-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sawat-taveerat.PDF2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.