Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริพร เหล่าเทิดพงษ์-
dc.date.accessioned2024-04-05T04:48:52Z-
dc.date.available2024-04-05T04:48:52Z-
dc.date.issued1982-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2065-
dc.description.abstractทำการสร้างลูกผสมถั่วลิสงแบบพบกันหมด จาก 10 สายพันธุ์ต่างประเทศ ซึ่งประกอบด้วยพวกสแปนิช-วาเลนเซีย และเวอร์จิเนีย ในปี พ.ศ. 2520 และได้ทำการศึกษาความดีเด่น และความสามารถในการรวมตัวของลูกผสมชั่วแรกทั้ง 45 คู่ของถั่วลิสงในปี 2522 จาก นั้นได้ทำการปลูกคัดเลือกขยายลูกผสมชั่วที่ 2 ชั่วที่ 3 และชั่วที่ 4 แบบเมล็ดต่อต้น (ฝักต่อต้น) โดยคู่ผสมใดที่ให้ต้นพืชซึ่งแสดงลักษณะการรวมตัวที่ไม่ดีจะถูกคัดทิ้งออกไปในแต่ละชั่วของการปลูกขยาย สำหรับในการปลูกคัดเลือกคู่ผสมชั่วที่ 5 แบบต้นเดี่ยวนี้ ทำการปลูกคู่ผสมทั้ง 38 คู่ผสมที่ได้ และทำการคัดเลือกพืชแบบต้นเดี่ยวในแต่ละคู่ผสม โดยใช้ลักษณะการติดฝักจำนวนเมล็ดต่อต้น น้ำหนักเมล็ดต่อต้น และน้ำหนัก 100 เมล็ด พบว่า คู่ผสมระหว่างเวอร์จิเนียกับเวอร์จิเนีย และเวอร์จิเนียกับสแปนิช-วาเลนเซีย ให้ค่าเฉลี่ยของลักษณะที่ศึกษาได้สูงกว่าคู่ผสม ระหว่างสแปนิช-วาเลนเซีย กับสแปนิช-วาเลนเซียen_US
dc.description.sponsorshipสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectถั่วลิสงen_US
dc.subjectการปรับปรุงพันธุ์en_US
dc.subjectการขยายพันธุ์en_US
dc.subjectถั่วลิสงชั่วที่ 5en_US
dc.subjectถั่วลิสงแบบต้นเดี่ยวen_US
dc.titleการคัดเลือกคู่ผสมถั่วลิสงชั่วที่ 5 แบบต้นเดี่ยวen_US
dc.title.alternativeSingle plant selection on F5 peanut crossesen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RM-2566-0010-348534.PDF1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.