Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิษณุ รัตนเลิศลบ-
dc.date.accessioned2024-02-08T08:35:16Z-
dc.date.available2024-02-08T08:35:16Z-
dc.date.issued1993-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2038-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคล สังคม เศรษฐกิจและแรงจูงใจของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลัก (2) การแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลัก (3)ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลัก (4) ปัญหาและอุปสรรคของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักในการแสดงบทบาทการประสานงาน ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้คือเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักที่ เป็นคณะทำงานสนับสนุนการปฏิบัติงานการพัสนาชนบทระดับตำบลในจังหวัดนครสวรรค์ รวมทั้งสิ้น 203 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม เพื่อรวบรวมข้อมูลเ กี่ยวกับการแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักซึ่งข้อมูลได้วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ผลการวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลมีอายุโดยเฉลี่ย 37 ปี ส่วนมากเป็นเพศชาย และสมรสแล้วอยู่ด้วยกัน ผู้ให้ข้อมูลส่วนมากมีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี และมีอายุราชการเฉลี่ย 15 ปี ในปัจจุบันผู้ให้ช้อมูลส่วนมากเป็นข้าราชการระดับ 4-5 และมีเงินเดือนเฉลี่ย 8,894 บาท ผู้ให้ข้อมูลมีประสบการณ์การฝึกอบรมเฉลี่ย 3 ครั้งต่อปี สำหรับแรงจูงใจในการทำงานของผู้ให้ข้อมูลนั้นผลวิจัยพบว่า ผู้ให้ข้อมูลส่วนมากมีแรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ในระดับมาก ส่วนแรงจูงใจใฝ่อำนาจ แรงจูงใจใผสัมฤทธิ์ แรงจูงใจใฝ่ชื่อเสียงและแรงจูงใจใผผลประโยชน์นั้น ผู้ให้ข้อมูลระบุว่ามีแรงจูงใจในระดับปานกลางเท่านั้นการแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักทั้ง 5 ด้านพบว่าผู้ให้ช้อมูลส่วนใหญ่แสดงออกในบทบาทการประสานแผน การประสานคน และการประสานข้อมูลวิชาการ สำหรับบทบาทการประสานงานในด้านวัสตุอุปกรณ์และการประสานงขประมานั้น ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ระขุว่าไม่ได้มีการแสดงออกหรือไม่ได้มีการประสานงานระหว่างกันเลยส่วนความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงออกในบทบาทการประสานงานกับลักษณะส่วนบุคคล สังคม เศรษฐกิจ และแรงจูงใจของผู้ให้ช้อมูลนั้น ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่ามีตัวแปรอิสระ เพียง 1 ตัวแปรเท่านั้นที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการแสดงออกในบทบาทการประสานงาน ซึ่งได้แก่ แรงจูงใจในการทำงาน (X '= 9.0866 :P < .0106 ) ส่วนตัวแปรอิสระอีก 8 ตัวแปรคือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการสถานภาพสมรส รายได้ ประสบการณ์การฝึกอบรม และระดับตำแหน่ง พีซี นั้น พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักแต่อย่างใดสำหรับปัถูหาและอุปสรรคของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักในการแสดงออกในบทบาทการประสานงานอยู่ในขณะนี้คือ 1.เจ้าหน้าแต่ละหน่วยงานกำนดแผนเน้นงานของตนเองมากเกินไปภาพรวมของการดำเนินงานนัฒนาชนบท 2. ข้อมูลแต่ละหน่วยงานไม่ค่อยตรงกัน 3. เมื่อมีการกำหนดวัน เวลานัดหมายประชุมแล้ว เจ้าหน้าที่มักไม่ค่อยมาประชุมหน่วยงานมีวัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ 6. งบประมาณแต่ละหน่วยงานมีน้อยและมีจำนวนจำกัดen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectกระทรวงเกษตรและสหกรณ์en_US
dc.subjectกระทรวงมหาดไทยen_US
dc.subjectกระทรวงศึกษาธิการen_US
dc.subjectกระทรวงสาธารณสุขen_US
dc.subjectการพัฒนาชนบทen_US
dc.subjectนครสวรรค์en_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.subjectพัฒนาen_US
dc.subjectสาธารณสุขen_US
dc.subjectครูen_US
dc.titleการแสดงออกในบทบาทการประสานงานของเจ้าหน้าที่สี่กระทรวงหลักในการดำเนินงานพัฒนาชนบท ในจังหวัดนครสวรรค์en_US
dc.title.alternativeCoordination role performance of officers in four principal ministries in rural development, Nakornsawan province, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Business Agriculture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pisanu-ratlerdlob.PDF2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.