Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดาราพร วงศ์วิจิตร-
dc.date.accessioned2024-02-08T07:51:06Z-
dc.date.available2024-02-08T07:51:06Z-
dc.date.issued2001-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2036-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อเนื้อสุกรของผู้บริโภคซึ่งซื้อเนื้อสุกรจากตลาดเมืองใหม่ และบริษัทโอชองเชียงใหม่ จำกัด 2) ปัจจัยที่มีผลเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกซื้อเนื้อสุกรของผู้บริโภดระหว่างการซื้อจากตลาดเมืองใหม่และบริษัทโอชองเชียงใหม่ จำกัด 3) ปัญหาของผู้บริโภคในการเลือกซื้อเนื้อสุกร การวิจัยครั้งนี้สุ่มตัวอย่างจากกลุ่มผู้บริโภก 100 ราย โดยเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มผู้บริโภคที่เลือกซื้อเนื้อสุกรจากตลาดเมืองใหม่ 50 รายและบริษัทโอชองเชียงใหม่ 50 ราย และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสั่งคมศาสตร์ SPSSผลการวิยพบว่า ผู้บริโภคจากตลาดเมืองใหม่ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 40 - 49 ปี สถานภาพสมรส จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 4 - 6 คน ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพรับจ้าง มีรายได้เฉลี่ย 12.001 - 15.000 บาท ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีการเลือกซื้อเนื้อสุกรทุกวันในรอบสัปดาห์ ใช้เงินในการซื้อเฉลี่ยต่อเดือน 501 - 1.000 บาท โดยส่วนใหญ่ใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน โดยนิยมเลือกซื้อในช่วงตลาดเปีดระหว่างเวลา 01:00 - 06:00 น. และจะนิยมเลือกซื้อวันธรรมดา(จันทร์ - ศุกร์ ) สาเหตุที่เลือกซื้อคือ รากาถูกในส่วนของผู้บริโภคจากโอชองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30 -49 ปีสถานภาพสมรส จำนวนสมาชิกในครัวเรือน 4 - 6 คน ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพ พนักงานบริษัท มีรายได้เฉลี่ยรวม 20,000 บาท ขึ้นไป ผู้บริโภคมีความถี่ในการเลือกซื้อมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปคาห์ ใช้เงินในการซื้อเฉลี่ยต่อเดือน 501 - 1,000 บาท โดยแนะนำไปใช้บริโภคในครัวเรื่อน ส่วนใหญ่นิยมเลือกซื้อเวลา 18:01 - 24:00 นาฬิกา และจะนิยมเลือกซื้อวันเสาร์ - อาทิตย์ สาเหตุที่เลือกซื้อ คือ ราคาถูกในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับมูลค่าที่ซื้อเฉลี่ยต่อเตือน ในกลุ่มผู้บริโภคจากตลาดเมืองใหม่พบว่า ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันเท่านั้นที่มีผลต่อพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกซื้ออย่างมีนัยสำดัญ ในขณะที่ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและอาชีพจะมีผลต่อความถี่ในการเลือกซื้อ ในส่วนกลุ่มผู้บริโภคจากบริษัทโอชองปัจจัยส่วนบุคคลไม่มีผกต่อมูลค่าที่ซื้อเฉลี่ยต่อเดือน แต่ปีอยด้านเพศมีผกต่อความถี่ในการตัดสินใจซื้อ ณ ระดับนัย สำคัญ 0.05 ส่วนผสมทางการตลาดพบว่าผู้บริโภคจากตลาดเมืองใหม่ที่มีระดับการศึกษาที่ต่างกันจะมีความสัมพันธ์กับทัศนคติทางด้านผลิตภัณฑ์ โดยปัจจัยส่วนบุคคลทางด้านอาชีพและรายได้จะมีความสัมพันธ์กับทัศนคติด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ในขณะที่ปัจจัยด้านอายุของผู้บริโภคที่ต่างกัน จะมีความสัมพันธ์กับทัศนคติด้านราคาและด้านการส่งเสริมการตลาด ในส่วนของผู้บริโภคบริษัฟโอชองพบว่า ส่วนผสมทางการตลาดไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติในการตัดสินใจซื้อเนื้อสุกรของผู้บริโภคสำหรับปัญหาในการตัดสินใจเลือกซื้อพบว่าผู้บริโภคจากตลาดส่วนใหญ่พบปัญหาการปรับราคาของสินค้าบ่อย และความสะอาดของสถานที่จำหน่าย ส่วนผู้บริโภคโอชองจะพบปัญหาจากแหล่งจำหน่ายมีสินค้าไม่ครบข้อเสนอแนะส่วนตลาดเมืองใหม่ผู้จำหน่ายเนื้อสุกรรายย่อยควรมีการรวมกลุ่มเพื่อต่อรองกับผู้ผลิตสุกรมีชีวิตในการปรับเปลี่ยนราคา มีการรักษาเสถียรภาพราคาแก่ผู้บริโภคและควรให้ความสำคัญในด้านสถานที่จำหน่ายให้มีความสะอาค ปลอดแมลงอันจะทำให้คุณภาพเนื้อสุกรเสื่อมเร็ว ส่วนบริษัทโอชองควรพิจารณาถึงปัญหาวันเกิดจากความหถากหลายของสินค้าระหว่างผลได้อันเกิดจากการรักษาผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม กับการสูญเสียต้นทุนอันเกิดจากการจำหน่ายขึ้นส่วนสุกรบางส่วนไม่ได้ หรืออาจแก้ไขโดยระบบส่งสินค้าที่จำหน่ายไม่ได้แต่ยังไม่ เสื่อมคุณภาพไปยังแผนกเทคโฮม (แผนกผลิตอาหารเพื่อจำหน่ายภายในโอชอง) หรือต่อรองกับผู้ผลิตในการขอคืนสินค้าที่ขายไม่ได้เพื่อผู้ผลิตจะนำไประบายสินค้าในตลาคสดหรือแหล่งจำหน่ายอื่น ๆ ที่สามารถขายได้en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectปัญหาพิเศษen_US
dc.subjectเนื้อสุกรen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectผู้บริโภคen_US
dc.titleพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อเนื้อสุกรของผู้บริโภค จากตลาดเมืองใหม่ และบริษัทโอชองเชียงใหม่ จำกัดen_US
dc.title.alternativeConsumer decision behavior in pork buying from Muang-Mai market and auchan Chiang-Mai company LTD.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Business Agriculture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
daraporn-wongvijit.PDF1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.