Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริทิตย์ วิริยะชินกาน-
dc.date.accessioned2024-02-07T07:08:45Z-
dc.date.available2024-02-07T07:08:45Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2026-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจับที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคน้ำแข็งของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในขังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาทัศนคติและความต้องการในการเลือกซื้อของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ในการวิจับครั้งนี้ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 158 ชุด โดยสอบถามถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคน้ำแข็งของผู้ประกอบการร้านอาหารรายใหญ่และรายเล็ก ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตอำเภอมือง จังหวัดเชียงใหม่ โคยแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ด้วยการใช้อาณาเขตของตำบลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งสามารถบ่งออกได้16ตำบล และกลุ่มของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. ผู้ประกอบการร้านอาหารรายใหญ่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 90 มีรายได้ระหว่าง 5,001-10,000 บาท มีรายได้กลุ่มใหญ่ป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 36-50 ปีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีผู้ประกอบการร้านอาหารรายเล็กในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 60 รายกลุ่มใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 36-50 ปี มีรายได้ว่าง 5,001 - 10,000 บาท มีการศึกยาในระดับมัชยมศึกษาตอนต้น และผู้ประกอบอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่ ตำนวน 8 ราย กลุ่มใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 21-35 ปี มีรายได้ระหว่าง 15.001-20,000 บาท การศึกมาอยู่ในระดับปริญญาตรี 2. วัตถุประสงห์ในการบริโภคน้ำเข็งของผู้ประกอบการว้านอาหาร ส่วนใหญ่ซื้อเพื่อนำมาเป็นส่วนประกอบในการผสมครื่องดื่ม แต่ผู้ประกอบการอุตเราพกรรม ซื้อเพื่อนำมาแช่อาหาร ส่วนมากผู้ประกอบการร้านอาหารซื้อน้ำเข็งจากพ่อก้าส่ง แต่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมซื้อจากโรงงานผลิตน้ำแข็งส่วนชนิดของน้ำแข็งที่ผู้ประกอบการร้านอาหารซื้อถือ น้ำแข็งหลอดใหญ่ แต่ผู้ประกอบการอุดลสาหกรรม กลุ่มใหญ่ซื้อน้ำแข็งโม่ 3. ผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรม กลุ่มใหญ่ซื้อน้ำแข็ง 7 ครั้งต่อสัปดาหั ปริมาณการซื้อต่อครั้งของผู้ประกอบการร้านอาหาร ต่ำกว่า ร0 กิโลกรัม แต่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมซื้อมากกว่า 500 กิโลกรัมต่อครั้งเทศกาลและฤดูร้อน มีอิทธิพลต่อการซื้อน้ำแข็งเพิ่มขึ้น แต่ฤดูหนาวมีอิทธิพลทำให้ปริมาณการซื้อน้ำแข็งลดลง 4. การส่งเสริมการขายที่มีอิทธิพลต่อผู้ประกอบการร้านอาหาร และ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมคือการให้ราคาที่ต่ำกว่าส่วนการกันหาข้อมูลของผู้ขายก่อนการซื้อน้ำแข็งผู้ประกอบการร้านอาหาร จะพิจารณาบริการของผู้ขาย เป็นหลัก แต่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมจะพิจารณาที่ตั้งและความสะอาดของโรงงานเป็นหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการเลือกซื้อน้ำแข็งของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่ให้ความสำคัญมากที่สุดคือ ความสะอาดของน้ำแข็ง ทั้งผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมกลุ่มใหญ่ ซื้อน้ำแข็งจากร้านประจำ เนื่องจากมีราคาที่เหมาะสม และอัทธยาศัยของคนขายดี 5.ทัศนดติของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ที่มีต่อส่วนผสมทางการตลาดอยู่ในเกณฑ์ที่ดีแต่ขังมีผู้ประกอบการร้านอาหารรายใหญ่บางราย คิดว่า มีการให้ส่วนลดน้อยเกินไปและให้สินเชื่อสั้นเกินไปส่วนความต้องการของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ที่มีต่อส่วนผสมทางการตลาด มีความต้องการมาก 6. ปัจจัยด้านเพศ อายุ รายได้ การศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกซื้อน้ำแข็ง 7. ความต้องการด้านส่วนผสมทางการตลาดของผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ไม่มีความแตกต่างกัน 8. ปัญหาที่ผู้ประกอบการร้านอาหารและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพบในการซื้อน้ำแข็งโดยให้ความสำคัญมากที่สุดคือ น้ำแข็งและภาชนะที่บรรจุมีความสะอาดไม่เพียงพอ"en_US
dc.publisherMaejo Universityen_US
dc.subjectน้ำแข็งen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคน้ำแข็งของผู้ประกอบการร้านอาหารและ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting ICE purchaing of restaurant and industrial entrepreneurs in Chiang Maien_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Business Agriculture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirithit-viriyacheenakarn.PDF2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.