Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/197
Title: WILLINGNESS TO PAY FOR AGING PEOPLE NURSING HOME OF CONSUMERS IN CHIANG MAI PROVINCE
การประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ ของผู้บริโภคจังหวัดเชียงใหม่
Authors: Jittima Jitrapirom
จิตติมา จิตราภิรมย์
Ke Nunthasen
เก นันทะเสน
Maejo University. Economics
Keywords: ความเต็มใจจ่าย
เทคนิคคำถามปิดแบบสองชั้น
ธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ
willingness to pay
double-bounded dichotomous choice
nursing home
Issue Date: 2019
Publisher: Maejo University
Abstract: The purposes of this study were to: 1) investigate general information of the aging people nursing home in Chiang Mai province; 2) estimate willingness to pay for aging people nursing home of consumers; and 3) analyze factors influencing the willingness to pay for aging people nursing home of consumers. The sample group in this study consisted of 400 consumers. The Contingent valuation method (CVM) and double-bounded dichotomous choice were used to estimate willingness to pay for aging people nursing home and tobit model was used to analyze factors influencing the willingness for the payment of the consumers. Results of the study revealed that the consumers were willing to pay for an average of 26,858.41 baht./person/month. The age of the consumer, education, business owners, university professor, income, address of the end of life, welfare and expense of nursing home were found to have significant influence to the willingness to pay.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ รวมถึงเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ โดยใช้ตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 400 ตัวอย่าง ใช้การประเมินมูลค่าโดยการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินค่า (Contingent Valuation Method: CVM) เทคนิคคำถามปิดแบบสองชั้น (Double-bounded dichotomous choice) ในการประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่าย (willingness to pay) ของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ และใช้แบบจำลองโทบิต (Tobit model) ในการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ ผลการศึกษา พบว่า ความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคที่มีต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุเฉลี่ยเท่ากับ 26,858.41 บาท/คน/เดือน โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลกับความเต็มใจจ่ายต่อธุรกิจสถานดูแลผู้สูงอายุ ได้แก่ อายุ การศึกษา อาชีพธุรกิจส่วนตัว/เจ้าของกิจการ อาชีพอาจารย์มหาวิทยาลัย รายได้ ที่อยู่ในบั้นปลายชีวิต สวัสดิการสังคม และค่าใช้จ่ายในการเข้ารับบริการ
Description: Master of Economics (Applied Economics)
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ประยุกต์))
URI: http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/197
Appears in Collections:Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6012304001.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.