Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1909
Title: การใช้สื่อของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล ในจังหวัดเพชรบูรณ์
Other Titles: Participation in activities of farmer associations' members in Chiangmai Province, Thailand
Authors: วิศิษฎ์ชัย นุใหม่
Keywords: การสอนด้วยอุปกรณ์
การส่งเสริมการเกษตร
เกษตร
ความรู้ทางวิชาการ
การประชาสัมพันธ์
Issue Date: 1994
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัดถุประสงค์เพื่อทราบ (1) ลักษณะพื้นฐานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล (2)จุดมุ่งหมายในการใช้ประเภท และแหล่งที่มาของสื่อที่ใช้และ ( 3 ) อุปสรรคบัญหาในการใช้สื่อโดยศึกษาจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบล ในจ้งหวัดเพธรบูรย์รวมทั้งสิ้น 118 คน ผลจากการศึกษา เกี่ยวกับลักษณะพื้นฐาน ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลพบว่าร้อยละ 80. 5 เป็นชาย มีอายุเฉลี่ย 33.61 ปีทั้งหมดดำรงตำแหน่งเจ้าหนักงานการเกษตร ร้อยละ 87.2 เป็นข้าราชการระดับ 4 และ ระดับ 5 ระยะเวลาที่ปฏิบัติราชการในตำแหน่งดังกล่าวเฉลี่ย 10. 14 ปี ร้อยละ 58.5 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี ร้อยละ 36.4 จบการศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การเยี่ยมเย็ยนเกษตรกรเบ็นรายบุคคล เป็นวิธีการส่งเสริม ที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรประจำตำบลระบุว่านิยมใช้มากที่สุดนอกจากนี้ในช่วง 2 บี ที่ผ่านมา (บี พ.ศ.2533-2534) ยังไม่เคยได้รับการฝึกอบรมดูงานเพิ่มพูนความรู้ด้านการ ใช้สื่อเลยจากการศึกษา เกี่ยวกับประสบการ และจุดมุ่งหมายในการใช้สื่อพบว่าทุกคนใช้สื่อในงานส่งเสริมการเกษตรอย่างน้อย 1 ป๋ระเภทโดยร้อยละ 75.5 ระบุว่าใช้สื่อมากกว่า 1 ประเภท สำหรับสื่อ 5 ประเภทแรกที่ได้รับความนิยมจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำดำบลมากที่สุด คือเอกสารคแนะนำโปสเตอร์ แผ่นพ้บ แผ่นพลิก และเทบเสียง ตามลำดับสื่อต่าง " ที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรประจำตำบลมาใช้ส่วนใหญ่เป็นสื่อที่ ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเบ็นหน่วยงานต้นสังกัดมีเพียงส่วนน้อยที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรประจำตำบลผลิตขึ้นใช้เอง และการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ (1) ลักษณะพื้นฐานของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจตาบล (2)จุดมุ่งหมายในการใช้ประเภท และแหล่งที่มาของสื่อที่ใช้และ ( 3 ) อุปสรรคปัญหาในการใช้สื่อโดยศึกษาจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลในจ้งหวัดเพชรบูลย์รวมทั้งสิ้น 118 คน ผลจากการศึกษา เกี่ยวกับลักษณะพื้นฐาน ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรประจำดำบลพบว่าร้อยละ 80. 5 เป็นชาย มีอายุเฉลี่ย 33.61 ปีทั้งหมดดำรงตำแหน่งเจ้าหนักงานการเกษตร ร้อยละ 87.2 เป็นข้าราชการระดับ 4 และ ระดับ 5 ระยะเวลาที่บฏิบัติราชการในตาแหน่งดังกล่าวเฉลี่ย 10. 14 ปี ร้อยละ 58.5 จบการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี ร้อยละ 36.4 จบการศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การเยี่ยมเยือนเกษตรกรเป็นรายบุคคล เป็นวิธีการส่งเสริม ที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลระบุว่านิยมใช้มากที่สุดนอกจากนี้ในช่วง 2 บี ที่ผ่านมา (ปี พ.ศ.2533-2534) ยัง ไม่เ คยได้รับการฝึกอบรมดูงานเพิ่มพูนความรู้ด้านการ ใช้สื่อ จากการศึกษา เ กี่ยวกับประสบการ และจุดมุ่งหมายในการใช้สื่อพบว่าทุกคนใช้สื่อในงานส่งเสริมการเกษตรอย่างน้อย 1 ประเภทโดยร้อยละ 75.5 ระบุว่าใช้สื่อมากกว่า 1 ประเภท สำหรับสื่อ 5 ประเภทแรกที่ได้รับความนิยมจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลมากที่สุด คือเอกสารคำแนะนำโปสเตอร์ แผ่นพ้บ แผ่นพลิก และเทปเสียง ตามลำดับสื่อต่างๆ ที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรประจำตำบล นำมาใช้ส่วนใหญ่เป็นสื่อที่ได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเบ็นหน่วยงานต้นสังกัดมีเพียงส่วนน้อยที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการ เกษตรบระจำตำบลผลิตขึ้นใช้เอง และ(9) หรือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นในพื้นที่จุดมุ่งหมายในการใช้สื่อส่วนใหญ่ มุ่งเพื่อการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการไปสู่เกษตรกรรองลงไปจะเป็นการใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการ เกษตร และกระตุ้นให้เกษตรกรนำเทคโนโลยีไปสู่การบฏิบัติเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรประจำตำบลส่วนใหญ่ทราบดีว่าสื่อประเภท ของจริง ทัศนศึกษา และเทปบันทึกภาพ มีผลต่อการเ บลี่ยนแปลง พฤติกรรมของเกษตรกรถึงระดับทาให้เกษตรกรนาความรู้ไบบฏิบัติมากที่สุดในขณะที่สื่อประเภหอื่น ๆ เช่น โบสเตอร์ รูบภาพ บ้ายนิเทศ แผ่นพับ แล่ะเอกสารคาแนะนา ทาให้เกษตรกรมีการตื่นตนสนใจที่จะรับความรู้เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ซึ่งในการใช้สื่อต่าง ๆ เหล่านี้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรบระจำตำบล ส่วนใหญ่ ระบุว่าได้มีการวิเคราะห์ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารของบุคคลเบ้าหมาย และ ทคลองใช้ก่อนที่จะนาสื่อ ไปใช้จริงในภาคสนามอุปสรรค บัญหาในการใช้สื่อที่เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรปบระจำตำบลระบุว่ายังเป็นปัญหาที่สำคัญคือ การขาดความรู้ และประสบการณ์ในการผลิตและการ ใช้สื่อบางประเภท ความไม่เพียงพอของงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้อง ใช้ในการผลิต และการใช้สื่อขาดการสนับสนุนส่งเสริมเสริมจากผู้บังคับบัญชาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
Description: Master of Agricultural Technology (Agricultural Extension) เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1909
Appears in Collections:

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
visitchai-numai.PDF2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.