Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภาวดี พัฒนกิจ-
dc.date.accessioned2023-12-04T04:04:40Z-
dc.date.available2023-12-04T04:04:40Z-
dc.date.issued1992-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1908-
dc.descriptionเทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แรงจูงใจของ เกษตรกรในการสมัคร เป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดพังงา ปี 2535 ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างสมาชิกสหกรณ์ จำนวนทั้งสิ้น 222 ตัวอย่างโดยใช้วิธีการวิจัยเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กล่าวมาข้างต้น ด้วยการวิจัยแบบพรรณา เพื่ออธิบายถึงลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคม การวิจัยโดยใช้การคิดคำนวณหาน้ำหนักค่าคะแนนเฉลี่ยเพื่อให้ทราบถึงความต้องการในชีวิตของสมาชิกสหกรณ์การเ กษตร ใช้ค่าร้อยละเพื่อวิเคราะห์ชนิดของแรงจูงใจ และการใช้สถิติไคสแควร์ เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจที่ผู้ให้ข้อมูลเลือกสูงสุดทั้งก่อนสมัคร เป็นสมาชิกสหกรณ์และ เมื่อเป็นสมาชิกสหกรณ์แล้วกับความสัมพันธ์ในสถานภาพส่วนบุคคล เศรษฐกิจ สังคม ประสบการณ์ของการอบรม และความถี่ในการดำเนินธุรกิจจากการวิจัยปรากฏผลดังนี้ลักษณะส่วนบุคคล สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 72.5 มีอายุระหว่าง 51-60 ปี และมีการศึกษาในระดับประถมศึกษามากที่สุด (12) ลักษณะทางเศรษฐกิจ สมาชิกส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ระหว่าง 30,001-60,000 บาท มีที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ของตน เองทั้งหมด สมาชิกได้รับบริการเงินกู้จากสหกรณ์ร้อยละ 82.88 ส่วนมากเป็นการกู้เงินระยะปานกลาง ในต้านการชำระหนี้ไม่ตรงตามกำหนดสัญญาเพียงร้อยละ 11.71 สมาชิกถือหุ้นโดยเฉลี่ย 2,162 บาท นอกจากนี้สมาชิกได้ฝากเงินกับสหกรณ์ส่วนใหตู่มีเงินฝากระหว่าง 100-1,000 บาทลักษณะทางสังคม จำนวนบุคคลในครอบครัวของสมาชิกส่วนใหญ่มีประมาณ 3-5 คน สมาชิกมีกลุ่มทางสังคมอื่นควบคู่กับการเป็นสมาชิกสหกรณ์ด้วย นอกจากนี้สมาชิกส่วนใหญ่ได้เข้ารับ การฝึกอบรมถึงร้อยละ 97 .3 ระยะเวลาการเป็นสมาชิกโดยเฉลี่ย 8.5 ปี สมาชิกมีการดำเนิน ธุรกิจร่วมกับสหกรณ์ถึงร้อยละ 96.40 ของสมาชิกทั้งหมด ความต้องการในการสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ สมาชิกมีความต้องการสูงสุดคือซื้อสินค้าในราคายุติธรรม รวมทั้งการรวมกันขายสินค้าให้ได้ราคาดี เพื่อต้องการมีรายได้เพิ่มมากแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เป็นแรงจูงใจของ เ กษดรกรในการสมัครเป็นสมาธิกสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดพังงา ปี 2535 แรงจูงใจดังกล่าวสมาชิกระบุว่าก่อนจะเข้ามาเป็นสมาชิกสหกรณ์ก็เพื่อที่จะได้รับการวางแผนการเพาะปลูก เพื่อให้ตรงกับความต้องการของตลาด รวมถึงเพื่อจะได้รับการศึกษาอบรมในเรื่องสหกรณ์ และเมื่อเป็นสมาชิกสหกรณ์แล้ว สมาธิกระบุว่าสิ่งที่ได้รับจากแรงจูงใจนั้น เป็นการได้รับการศึกษาอบรมในเรื่องสหกรณ์สูงสุดความสัมพันธ์ของแรงจูงใจใผสัมฤธิ์ในด้านการศึกษาอบรมในเรื่องสหกรณ์ของสมาชิกไม่มีความสัมพันธ์กับสถานภาพด้านบุคคล เช่น อายุ ด้านเศรษฐกิจ เช่น รายได้ ด้านสิงคม เช่นจำนวนบุคคลในครอบครัว ด้านประสบการณ์ในการฝึกอบรม รวมถึงความถี่ในการดำเนินธุรกิจอย่างเป็นนัยสำคัญ เว้นแต่ความถี่ในการดำเนินธุรกิจ เมื่อเป็นสมาชิกสหกรณ์ล้วจะมีความสัมพันธ์กับการศึกษาอบรมในเรื่องสหกรณ์en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectสหกรณ์การเกษตรen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.titleแรงจูงใจของเกษตรกรในการสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดพังงา ปี 2535en_US
dc.title.alternativeFarmers motivations for membership enrolment in agricultural cooperatives in Pang-nga Province, year 1992en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
supawade-pattanakij.PDF2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.