Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1888
Title: | การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การผลิตมันฝรั่งเพื่อการแปรรูป ในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2541/42 |
Other Titles: | the economic analysis of potato production for processing in sansai district, chiang mai, in the 1998/99 crop year |
Authors: | นุชนาถ พันธุ์จินดา |
Keywords: | สหกรณ์ เชียงราย สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เชียงราย |
Issue Date: | 2000 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
Abstract: | การผลิตมันฝรั่งเพื่อการแปรรูปในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ เริ่มมีการผลิตมาตั้งแต่ปี 2535 โดยการส่งเสริมร่วมกันระหว่างสำนักงานเกษตรอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่และบริษัทผู้ผลิตมันฝรั่งแปรรูป การผลิตมันฝรั่งในพื้นที่ตังกล่าวจะทำการผลิตในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม เก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม โดยจะทำการผลิตมันฝรั่งเป็นพืชรองจากการเพาะปลูกข้าวการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์การผลิตมันฝรั่งเพื่อการแปรรูปในอำเภอสันทรายจังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2541/42 เป็นการศึกษาถึงประสิทธิภาพในการใช้ปัจจัยการผลิตของเกษตรกร โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรทั้งหมด 89 คน ในการศึกษาดังกล่าวรูปแบบฟังก์ชั่นการผลิตที่ใช้ในวิเตราะห์มีอยู่ 2 รูปเบบ คือ ฟังก์ชั่นการผลิตแบบเส้นตรง และแบบ Cobb-Douglas โดยวิธีการวัดปริมาณปัจจัยการผลิตแบ่งออกเป็นการวัดด้วยหน่วยกายภาพและหน่วยเงิน ผลการวิจัยมีดังนี้ ในปีการเพาะปลูก 2541/42 เกษตรกรเริ่มทำการผลิตกลางเดือนชันวาคม ซึ่งผลิตมันฝรั่งเป็นพืชรองหลังจากการเพาะปลูกข้าว พันธุ์มันฝรั่งที่ใช้คือ พันธุ์แอตแลนดิก ขนาดพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกรแต่ละดนเฉลี่ยเท่ากับ 3.45 ไร่ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เกษตรกรเข่าสำหรับทำการเพาะปลูก ในการผลิตเกษตรกรส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการเพาะปลูกโดยเฉลี่ยเท่ากับ 8.87 ปี แหล่งเงินทุนสำหรับการผลิตของเกษตรกรส่วนใหญ่มาจากการกู้ยืมเงินจากสถาบัน การเงิน และสินเชื่อในรูปของปังจัยการผลิตจากบริษัทเอกชน เพราะเกษครกรมีสัญญาว่าจ้างการผลิตกับบริษัทเหล่านี้ผลของการวิเคราะห์ฟิงกัชั่นการผลิดทั้ง 2 รูปแบบ ปรากฏว่า สมการแบบ Cobb-Douglas สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวเปรอิสระได้ดีกว่าสมการแบบเส้นตรง (lincar form) โดยปัจจัยการผลิต แรงานคน หัวพันธุ์ และสารเคมี สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของปริมาณผลผลิตและมูลค่าของผลผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติการศึกษาค้านประสิทธิภาพทางเทดนิดของฟังก์ชั่นการผลิตทั้ง 2 รูปแบบ แสดงให้เห็นว่า ในขบวนการผลิตของเกษตรกร ปัจจัยการผลิตที่มีอิทธิพลต่อการผลิตคือ แรงงานดนหัวพันธุ์ และสารเคมี การเพิ่มปัจจัยการผลิตทั้ง 3 ชนิด สามารถทำให้ปริมาณผลผลิตและมูลค่าผลผลิตมันฝรั่งให้สูงขึ้น โดยความสัมพันธ์ระหว่างการเพิ่มปัจจัยการผลิตและผลที่ได้รับจะเป็นไปตามกฎผลได้ลดน้อยถอยลงของผลตอบแทนจากการใช้ปัจจัยการผลิต (Law of Diminishing Marginal Productivity) สำหรับผลของการวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจของฟังก์ชั่นการผลิตทั้ง 2 รูปแบบ แสดงให้เห็นว่า เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิตต่ำกว่าระดับที่เหมาะสมสำหรับการผลิต โดยในระดับดังกล่าวเกษตรกรยังสามารถที่จะเพิ่มการใช้แรงานคน หัวพันธ์และสารเคมีได้อีกเพื่อให้ได้รับผลผลิตและมูลค่าผลผลิตมันฝรั่งให้สูงกว่าเดิมเมื่อเปรียบเทียบถึงความเหมาะสมในการวิเคราะห์ของฟังก์ชั่นการผลิตทั้ง 2 รูปแบบปรากฏว่า วิธีการวัดปัจจัยการผลิตด้วยหน่วยกายภาพมีความเหมาะสมกว่าวิธีการวัคปัจจัยการผลิตด้วยหน่วยเงิน เนื่องจากวิธีการวัดดังกล่าวไม่ต้องอาศัยราคาปัจจัยการผลิตมาใช้ในการวิเคราะห์ ซึ่งค่าอาจปลี่ยนปลงได้ในช่วงการวิเคราะห์กทั้งราคาที่ใช้ก็เป็นราคาที่มิได้กำหนดขึ้นคลาคแข่งขันสมบูรณ์ เช่น ราคาปุ๋ย เป็นตัน ดังนั้นการใช้ชัอมูลที่เป็นตัวเงินนั้นอาจทำให้มูลค่าผลผลิตที่ได้รับเบี่ยงเบนไปได้สำหรับปัญหาการผลิตมันฝรั่ง คือ การเริ่มทำการผลิตล่าช้า การเน่าเสียของหัวพันธุ์การระบาคของโรคและแมลง ความแปรปรวนของอุณหภูมิ และปัญหาเกี่ยวกับข้อจำกัดทางด้านเงินทุน มีผลทำให้ผลผลิตมันฝรั่งต่อไร่ที่ได้รับต่ำกว่าที่ควรข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ การใช้ฟิงก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas สามารถวิคราะห์หาระดับการใช้ปิจจัยการผลิตที่ทำให้ได้รับผลผลิตสูงสุดของเกษตรกรได้ ดังนั้นบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรเข้ามาทำการศึกษาหาระดับการใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมเพื่อใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมเกษตรกรให้มีการใช้ปังจัยการผลิดอย่างมีประสิทธิภาพ |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1888 |
Appears in Collections: |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nuchanart-phunchinda.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.