Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/188
Title: | ESTIMATION OF GENETIC PARAMETERS FOR GENETIC IMPROVEMENT IN NILE TILAPIA (OREOCHROMIS NILOTICUS) UNDER COMMERCIAL FARM CONDITIONS การประเมินค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลในระบบการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ |
Authors: | Puncharat Meekaew ปุญชรัศมิ์ มีแก้ว Nissara Kitcharoen นิสรา กิจเจริญ Maejo University. Fisheries Technology and Aquatic Resources |
Keywords: | ปลานิล อัตราพันธุกรรม น้ำหนัก BLUP การคัดพันธุ์ Nile Tilapia heritability growth BLUP selection |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | Aquaculture of Nile Tilapia is practiced worldwide. Despite a long culture history, only a few genetically improved strains have been established in commercial farm in Thailand. In this study, heritability was estimated for total weight at 2 and 3 months after hatching. Estimation was made on data from 139 full-sib and 56 half-sib families. The analysis of variance was performed using a univariate mixed linear animal model. Variance components were analyzed following an animal model using Restricted Maximum Likelihood procedure (REML) employing average information (AI) algorithm. Heritability estimates (h2) for growth related traits varied considerably with age. At 2 months old, h2 for body weight (BW; 0.014 ± 0.189) were low. At 3 months old, h2 of BW (BW; 0.197 ± 0.136) were higher than those estimated at 2 months old. At 7 months old, h2 of BW (BW; 0.272 ± 0.103 ) were higher than those estimated at 2 and 3 months old The same trend was observed in many previous studies in body weight at harvest. The heritabilities showed good prospective for selective breeding of body weight at harvest. The heritabilities, h2 of SL (SL; 0.0089±0.0063), h2 of BH (BH; 0.0067±0.0096) were low. The correlations between BW, SL and BH were low as well. Genetic correlations for HW between fish meal and non-fish meal feed was 0.91, conclusion was that there was no significant evidence for genotype by environmental interaction. การเพาะลี้ยงปลานิลมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก แม้ว่าจะมีการเพาะเลี้ยงมาเป็นระยะเวลานานแต่ในประเทศไทยยังมีการพัฒนาสายพันธุ์เพียงเล็กน้อย ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการประมาณค่าอัตราพันธุกรรมของน้ำหนักปลานิลที่อายุ 2 และ 3 เดือนหลังจากฟัก โดยการประมาณค่าจากประชากรปลานิลเริ่มต้น 139 ครอบครัว องค์ประกอบความแปรปรวนถูกประมาณค่าด้วยวิธี restricted maximum likelihood (REML) โดยใช้ average information (AI) algorithm ร่วมกับแบบจำลองสัตว์ (animal model) พบว่าค่าอัตราพันธุกรรมของน้ำหนักปลานิลมีความแตกต่างไปตามช่วงอายุ โดยที่อายุ 2 เดือนค่าอัตราพันธุกรรมของน้ำหนักตัวมีค่าเท่ากับ 0.014 ± 0.189 ที่อายุ 3 เดือน ค่าอัตราพันธุกรรมของน้ำหนักตัวมีค่าเท่ากับ 0.197 ± 0.136 ซึ่งมีค่าปานกลางและมีค่ามากกว่าที่อายุ 2 เดือน ที่อายุ 7 เดือนค่าอัตราพันธุกรรมของน้ำหนักตัวมีค่าเท่ากับ 0.275 ± 0.0808 ซึ่งมีค่าค่อนข้างสูงและมีค่ามากกว่าที่อายุ 2 และ 3 เดือน โดยมีแนวโน้มเช่นเดียวกับงานวิจัยที่ผ่านมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสามารถปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีการคัดเลือกให้มีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นได้ ในขณะที่ค่าอัตราพันธุกรรมของความยาวตัวและความกว้างลำตัวที่อายุ 7 เดือนมีค่าเท่ากับ 0.0089±0.0063 และ 0.0067±0.0096 ตามลำดับ ซึ่งมีค่าต่ำ และมีค่าสหสัมพันธ์กับน้ำหนักตัวต่ำด้วยเช่นกัน การศึกษาอิทธิพลร่วมระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม จากค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม (genotypic correlation) ของน้ำหนักปลาที่ถูกเลี้ยงด้วยอาหารต่างชนิด มีค่าเท่ากับ 0.91 แสดงให้เห็นว่าไม่มีอิทธิพลร่วมระหว่างพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม |
Description: | Master of Science (Master of Science (Fisheries Technology and Aquatic Resources)) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ)) |
URI: | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/188 |
Appears in Collections: | Fisheries Technology and Aquatic Resources |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5910301004.pdf | 2.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.