Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKittiphan Prasiten
dc.contributorกิตติพันธุ์ ประสิทธิ์th
dc.contributor.advisorYuttakarn Waiapaen
dc.contributor.advisorยุทธการ ไวยอาภาth
dc.contributor.otherMaejo University. School of Tourism Developmenten
dc.date.accessioned2020-01-17T04:27:22Z-
dc.date.available2020-01-17T04:27:22Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/175-
dc.descriptionMaster of Arts (Master of Arts (Tourism Development))en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการท่องเที่ยว))th
dc.description.abstractThis study was conducted to : 1) perceive context of Kuiburi national park area, Kuiburidistrict Prachuab Khiri Khan province; 2) analyze participation in tourism management of Kuiburi national park; and 3) formulate sustainable tourism management of Kuiburi national park . the sample group in this study consisted of 5 personnel of Kuiburi national park, 59 Kui Buri Wildlife Conservation Tourism club members and 380 tourists visiting Kuiburi national park. Interview schedule and questionnaire passing reliability and validy test were used for data collection. Obtained data were analyzed by using frequency, mean, standard deviation, correlation coefficient, and content analysis. Results of the study revealed that Kuiburi nationnal park was an eco-tourism spot which was nich of natural resources and it was the habitat of various wildlife species. there was coordination in tourism promotion between Kuiburi nationnal park and Kuiburi Wildlife Conservation Tourism club to provide tourism services. This promoted living together between man and wildlife, local participation and income generating of people living nearby Kuiburi national park. Findings showed that, as a whole, there was a high level of participation in tourism management of Kui Buri Wildlife Conservation Tourism club (x̄ = 4.02). This was based on the following 5 aspects: 1) implementation (x̄ = 4.51), 2) care-taking (x̄ = 4.50), 3) planning (x̄ = 4.24), 4) monitoring and assessment (x̄ = 3.89) and 5) benefit sharing (x̄ = 2.94) respectively. there was a very high of Kui Buri Wildlife Conservation Tourism club opinions about tourism resource management at Kuiburi national park (x̄ = 4.30). This was on the basis of 6 aspects as follows: 1) activity (x̄ = 4.62), 2) attractions (x̄ = 4.53), 3) accommodation (x̄ = 4.36), 4) amenity (x̄ = 4.32), 5) ancillary service (x̄ = 4.11), and 6) accessibility (x̄ = 3.88) respectively. Besides, there was a very high level of the tourist opinions (x̄ = 4.48) based on the following aspects: 1) accommodation (x̄ = 4.52), 2) attraction (x̄ = 4.52), 3) amennity (x̄ = 4.51), 4) accessibility (x̄ = 4.50),  5) ancillary service (x̄ = 4.44), and 6)  activity (x̄ = 4.40) respectively. It was found that there was a statistically significant relationship between the participation process in tourism management and tourism resource management of Kuiburi national park which was found at a low level (Sig. 0.05) Regarding the formulation of sustainable tourism management of Kuiburi national park, It was found in the form of the promotion of participation process in tourism management of Kui Buri Wildlife Conservation Tourism club. Reseults of the study could be used for development and as data for the strategic plan of Kuiburi national park. This could support the participation process in tourism management of Kuiburi national park.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงบริบทของของพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) เพื่อวิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  3) เพื่อกำหนดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้คือ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรีจำนวน 5 คน กลุ่มชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่ากุยบุรีจำนวน 59 คน และนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาใช้บริการท่องเที่ยวในเขตอุทยานแห่งชาติกุยบุรีจำนวน 380 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแลลสัมภาษณ์และแบบสอบถามที่ผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่น โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า อุทยานแห่งชาติกุยบุรีเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติสูงและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าหลายชนิด ในปัจจุบันอุทยานแห่งชาติกุยบุรีมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยร่วมกับชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่ากุยบุรีในการให้บริการด้านการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับสัตว์ป่า และเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในท้องถิ่น รวมถึงเป็นการกระจายรายได้ให้กับประชาชนที่อยู่อาศัยโดยรอบอุทยานแห่งชาติกุยบุรี ในด้านการวิเคราะห์การมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีพบว่า ระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของกลุ่มชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษสัตว์ป่ากุยบุรีทั้ง 5 ด้าน ระดับการมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ยรวม 4.02) โดยด้านร่วมกันปฏิบัติตามแผน (ค่าเฉลี่ย 4.51) ร่วมบำรุงรักษา (ค่าเฉลี่ย 4.50) และร่วมกันวางแผน (ค่าเฉลี่ย 4.24) ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ร่วมติดตามและประเมินผล (ค่าเฉลี่ย 3.89)ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก ร่วมกันใช้ประโยชน์ (ค่าเฉลี่ย 2.94)ระดับการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ และในส่วนของความคิดเห็นในการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีทั้ง 6 ด้าน ชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่ากุยบุรีมีระดับความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.30) โดยด้านกิจกรรมต่างๆด้านการท่องเที่ยว (ค่าเฉลี่ย 4.62) ด้านสิ่งดึงดูดใจ (ค่าเฉลี่ย 4.53) ด้านที่พัก (ค่าเฉลี่ย 4.36) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (ค่าเฉลี่ย 4.32) มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก ด้านองค์ประกอบของการบริการ (ค่าเฉลี่ย 4.11) และด้านคมนาคม (ค่าเฉลี่ย 3.88) มีความคิดเห็นอยู่ในระดับค่อนข้างดี สำหรับนักท่องเที่ยวมีระดับความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย 4.48) โดยด้านที่พัก (ค่าเฉลี่ย 4.52) ด้านสิ่งดึงดูดใจ (ค่าเฉลี่ย 4.52) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก (ค่าเฉลี่ย 4.51) ด้านคมนาคม (ค่าเฉลี่ย 4.50) ด้านอง์ประกอบของการบริการ (ค่าเฉลี่ย 4.44) และด้านกิจกรรมต่างๆด้านการท่องเที่ยว (ค่าเฉลี่ย 4.40) มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก นอกจากนี้ยังพบว่ากระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับการจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยการกำหนดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีพบว่า การกำหนดการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีคือการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของชมรมท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สัตว์ป่ากุยบุรี ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาและใช้เป็นข้อมูลสำหรับแผนกลยุทธ์ของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี เพื่อใช้ในการสนับสนุนและให้ความสำคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติกุยบุรีth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนth
dc.subjectการมีส่วนร่วมth
dc.subjectSustainable tourism managementen
dc.subjectParticipationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSUSTAINABLE TOURISM MANAGEMENT OF KUIBURI NATIONAL PARK KUIBURI DISTRICT PRACHUAP KHIRI KHAN PROVINCEen
dc.titleการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี  อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Tourism Development

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5909302001.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.