Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1550
Title: กลยุทธ์การสร้างและสื่อสารแบรนด์เพื่อการผลิตและการตลาดสับปะรด
Other Titles: Branding strategy for pineapple production and marketing
Authors: สมพร เกตุตะคุ
Keywords: สับปะรด
การปลูก
การตลาด
การส่งออก
Issue Date: 2020
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สำนักหอสมุด
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประลงด์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิลัยของเกษตรกร จากการชมรายการวัทิคน์ที่มีเทดนิดในการดำเนินเรื่องแตกต่างกัน 3 แบบ คือ 1, รายการดำเนินปรกติที่มีการดำเนินเรื่องเฉพาะ วิธีที่ถูก (2)รายการวิดีทัศน์ที่มีการดำเนินเรื่องวิธีการปฏิบัติที่ผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติที่ถูก ลลับกันทีละชั้นตอน โดยมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ (3) รายการวิดีทัศน์ที่มีการดำเนินเรื่องวิธีการปฏิบัติที่ผิดและวิธีการปฏิบัติที่ถูกแสดงให้เห็นพร้อมกันบนจอเดียว และมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ การวิจัยใช้การทดลองแบบ Randomized Pretest.-Posttest Control Group besignโดยมีกล่มตัวอย่างการวิจัย คีอ เกษตรกรในตำบลแม่แฝกใหม่ อำเภอลันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stagerandom sampling) จำนวนทั้งหมด 120 คน แข่งเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 40 คน กลุ่มแรกเป็นกลุ่มควบคุมเรียนรู้จากรายการที่ใช้เทคนิคการดำเนินเรื่องที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง กลุ่มที่ลองเรียนรู้จากรายการวิดีทัศน์ที่ไช้ เทคนิคการดำเนินเรื่องที่มีวิธีการปฏิบัติที่มี แทรกวิธีการปฏิบัดีที่ถูกสลับกันทีละขั้นตอน โดยมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ และกลุ่มที่ตามเรียนรู้จากรายการวิดีศน์ที่ใช้เทคนิคการดำเนินเรื่องที่มีวิธีการปฏิบัติที่ผิดและวิธีการปฏิบัติที่ถูแลดงให้เห็นพร้อมกันบนจอเดียว และมีเครื่องหมาย X และ / กำกับเนื้อหาที่ใช้สอนคือเรื่อง "การเพาะ เห็ดหลินจือ" และรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบ จากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, คำา Chi-square, t-test, F-testและค่า Least Significant Difference (LSD) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การเรียนรู้เชิงพุทธิพิสียหลังชมรายการวิดีทัศน์ของเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่ม สูงกว่าความรู้พื้นฐานก่อนชมรายการวิดีพัศน์อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ 2. การเรียนรู้เชิงพุทธิพิสัยหลังชมรายการวิดีทัศน์ของเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยพบว่าเกษตรกรที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติที่ผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติที่ถูก สลับกันทีละขั้นตอนโดยมีเครื่องหมาย X และ / กำกับมีผลการเรียนรู้สูงสุด รองลงมาคือรายการวิดีทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกขณะที่รายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการดำเนินเรื่องวิธีการปฏิบัติที่ผิดและ วิธีการปฏิบัติที่ถูกแสดงให้เห็นพร้อมกันบนจอเดียว และมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ มีผลการเรียนรู้ต่ำสุด และเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยทีละคู่ ผลปรากฏว่า 2. 1 คะแนนเฉลี่ยของ เกษตรกรกลุ่มที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูก สูงกว่ากลุ่มที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติที่ผิดและวิธีการปฏิบัติที่ถูก แสดงให้เห็นพร้อมกันและมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.052. 2 คะแนนเฉลี่ยของเกษตรกรที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละขั้นตอน โดยมีเครื่องหมาย X และ / กำกับด้วยสูงกว่ากลุ่มที่ เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.3 คะแนนเฉลี่ยของเกษตรกรที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการ ปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิขัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน โตยมีเครื่องหมาย X และ / กำกับ สูงกว่า กลุ่มที่เรียนจากรายการวิดีทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดและ วิธีการปฏิบัติถูกแสดงให้เห็นพร้อมกันและมีเครื่องหมาย X และ / กำกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1550
Appears in Collections:

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
somporn-kettakhu.pdf95.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.