Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1544
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สัมพันธ์ ตาติวงค์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-09-19T09:02:19Z | - |
dc.date.available | 2023-09-19T09:02:19Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1544 | - |
dc.description.abstract | การทดลองศึกษาและวิจัยการปลูกถั่วลูกไก่ บนพื้นที่สูง ในเขตภากเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งมีระยะเวลาในการดำเนินการศึกษาทดลอง ตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม 2543 จนถึงวันที่ 10 เมมายน 2546 ภายใต้สภาพแวดส้อม ทั้งหมด 3 สภาพแวคล้อม ได้แก่ 1. สถานีเกษตรหลวงปางดะ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอสะมิง จังหวัดชียงใหม่ 2. สถานีทดลองข้าวแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ในเขตอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งในแต่ละสภาพแวดล้อมจะมีความสูงจากระดับน้ำทะเล 700, 420 และ 300 มตรตามลำดับผลการศึกษาท ดถองที่ 1 คือ จากการศึกษา และคัดเลือกสายพันธุ์ของถั่วลูกไก่ 49 สายพันธ์ จากประเทศชีเรียนั้นพบว่า สายพันธุ์ ถั่วถูกไก่ สายพันธุ์ที่ 8(ILC 482), 36(FLIP 98-68C), 14 (FLIP 97-102C), 26(FLIP 97-241C) และ 38(FLIP 98-92) มีการเขริญเติบโตที่เหมาะสมและให้ ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตที่ดี ปรับตัวเข้ากับสภาพแวคล้อมของสถานที่ทำการศึกษาทดลองได้อย่างดี ส่วนผลการทดลองที่ 2 นั้นจะเห็นได้ว่าถั่วลูกไก่สายพันธุ์ประเภท Desi ซึ่งได้แก่สายพันธุ์ Sona, Tyson และสายพันธุ์ Hecra จะมีการปรับตัว เข้ากับสภาพแวคล้อม ของสถานที่ ที่ทำการศึกษาทดลองได้ดีกว่าถั่วลูกไก่สายพันธุ์ประเภท Kabuli คือ สายพันธุ์ Bumper, Kaniva และสายพันธุ์ Gamnct ผลการทคลองศึกษา เปรียบเทียบผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิต ใน 3 ช่วงระยะการปลูกของถั่วลูกไก่ นั้น พบว่ ช่วงวันปลูกทั้ง 3 ช่วงในสภาพเวคล้อมของ ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยคือ ช่วงตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม จนถึง ปลายเดือนพฤศจิกายน ให้ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตเฉลี่ยในแต่ละสายพันธุ์ ไม่ค่อยแตกต่างกันมากนัก ส่วนจากการศึกษาในด้านของระยะปลูกและจำนวนต้นต่อหลุมที่เหมาะสมของถั่วลูกไก่ ในการทดลองที่ 3 และ 4 นั้นระยะปลูกที่ 50 x 25 เขนติเมตร และการปลูกชำนวนตื้นต่อหลุมที่ 1 ต้น / หลุม ถั่วลูกไก่จะมีการเจริญเติบโด ให้ผลผลิตและองค์ประกอบของผลผลิตสูงที่สุด และในการทดลองที่ 5 จากการศึกษา เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของถั่วถูกไก่ ในการปถูกถั่วถูกไก่ 3 สภาพแวคล้อม ที่มี ความแตกต่างของระดับความสูงจากน้ำทะเล พบว่าถั่วลูกไก่ที่ปลูกในพื้นที่ ที่มีระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลที่ 420 เมตร จากระดับน้ำทะเลมีการเจริญเติบโต และให้ค่าเฉลี่ยของผลผลิต ในแต่ละสายพันธุ์ที่มากที่สุด กว่าถั่วลูกไก่ที่ปลูกในสภาพแวคล้อมพื้นที่ ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลที่ 700 และ 300 เมตร โดยการศึกษาทคลองในครั้งนี้นั้น ทำให้ทราบถึงสายพันธุ์ถั่วลูกไก่ที่สามารถปรับตัวได้ดี อีกทั้งเทคโนโลยีการผลิตต่าง ๆ ของถั่วลูกไก่ และยังรวมถึงปัญหาต่าง ๆ ในการผลิตถั่วลูกไก่ ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของโรคและแมลงศัตรูพืชต่าง ๆ ของถั่วลูกไก่ ได้อีกด้วย ประ โยชน์ที่ได้จากการทดลองจะทำให้เกษตรถรของประเทศไทย ในเขตภาดเหนือตอนบน นั้นมีพืชทางเลือกใหม่เพิ่มขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถจะส่งเสริมให้เป็นพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจในอนาคตต่อไป | en_US |
dc.publisher | Maejo University | en_US |
dc.subject | ถั่วลูกไก่ | en_US |
dc.title | การปลูกถั่วลูกไก่บนพื้นที่สูงในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Chickpea (Cicer arietinum L.) cultivation on the highlands of upper northern Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | STD-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
samphan-tatiwong.pdf | 72.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.