Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1536
Title: | การรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ในการบริโภคกลูต้าไธโอนของผู้หญิงในจังหวัดเชียงใหม่ |
Other Titles: | Awareness of online Media in Glutathione Consumption of Women in Chiang Mai Province |
Authors: | อภิญญา เพิ่มพูล |
Keywords: | กลูต้าไธโอน สื่อออนไลน์ |
Issue Date: | 2015 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลเกี่ยวกับกลูต้าไธโอนผ่านสื่อออนไลน์ 2) ปีจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคกลูต้ไธโอน 3) การรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการบริโภคกลูต้าไรโอน 4) ผลกระทบจากสื่อออนไลน์ต่อการบริโภคกลูตัไฮโอนโดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศหญิงในจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 12 คน จำแนกกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มตัวอย่างที่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์ และกลุ่มตัวอย่างที่ไม่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์ผลการวิจัยสรุปใต้ตังนี้พบว่าลักษณะทางประชากรศาสตร์พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 25.5 ปี ส่วนใหญ่พ่อแม่อยู่ด้วยกันและพักอาศัยโตยการเช่าหอพัก โดยส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระตับปริญญาตรีร้อยละ 80 และร้อยละ 20 กำลังศึกษาอยู่ มีคำใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเตือน 14,000 บาท รายได้ส่วนมากมาจากงานประจำพฤติกรรมการปิดรับสื่อของกลุ่มตัวอย่าง 12 คน พบว่าร้อยสะ 90 เปิดรับสื่อเฟสบุ๊คและเว็บไซต์ในสัตส่วนที่เท่ากัน ที่เหลือร้อยละ 10 นิยมชมยูทูปหรือติดตามทางอินสตาร์แกรม โดยนิยมเปิดรับสื่อในช่วงเวลาตอนเย็นมีความถี่ในการเปิตรับสื่อ เฉลี่ยประมาณ 5 ชั่วโมงต่อ 1 วัน และเฉลี่ยวันที่ปิดรับสื่ออยู่ในระยะเวลาประมาณ 6 วัน ต่อ 1 สัปดาห์ กระบวนการตัตสินใจบริโภคกลูตัไฮโอนของกลุ่มตัวอย่างนั้นมีขั้นตอนในการตัดสินใจตั้งแต่การรับรู้ ความสนใจ การประเมินผล กระทั่งการตัดสินใจว่าจะเสือกบริโภคหรือไม่บริโภต โดยขั้นตอนการรับรู้ของแต่ละคนนั้น มีแหล่งข้อมูลหลัก คือ เพื่อนแนะนำให้ดูสื่อออนไลน์ ในเนื้อหามีการบอกเล่าถึงประโยชน์และคุณสมบัติของกลูตัาไรโอน เทคนิคการนำเสนอในรูปแบบของคลิปวิตีไอสั้นๆ ประกอบกับบริบทด้านสังคมที่ต้องการจะมีผิวขาวเหมือนคนรอบช้าง ชั้นความสนใจนั้นแหล่งข้อมูลหลัก คือ สื่อออนไลน์ เนื้อหามีการรับประกันความปลอดภัย ผ่านเทคนิคการนำเสนอในรูปแบบคลิปวิดีโอ โดยใช้บุคลที่มีชื่อเสียงเป็นผู้รับรองขัอตีของกลูาไรโอน และมีบริบททางด้านสังคม คือ ต้องการอยากมีผิวขาวและเป็นที่นำสนใจในสังคมขั้นการประเมินผล กลุ่มตัวอย่างมีแหล่งข้อมูลหลักคือ สื่อออนไลน์เนื้อหาการบอกเล่าประสบการณ์ของผู้บริโภตแสดงความแตกต่างก่อนและหลังการบริโภคและการรับประกันจากผู้เชี่ยวซาญ บุคคลมีชื่อเสียง และผู้ที่เคยบริโภคผ่านทางคลิปวิดีโอบนยูทูปและรูปภาพในเว็ปไชต์โดยบริบททางต้านสังตมเป็นแรงผลักตันของตนเองต้องการเป็นที่ยอมรับของบุคคลรอบข้างได้ ส่วนขั้นการตัดสินใจนั้น แหล่งชัอมูลหลัก คือ เพื่อน บุคคลมีชื่อเสียง และผู้ที่เคยบริโภค ที่บอกเนื้อหาด้านความรู้ในการบริโภคและแหล่งขายกลูต้าไธโอนผลิตภัณฑ์ต่างๆ ผ่านทางคลิปวีดีโอ โตยมาบอกเล่าประสบการณ์การเปลี่ยนแปลง ผลดี ผลเสียจากการบริโภคและมุ่งเน้นบริบททางต้านสังคมเป็นหลัก ปัจจัยที่มีผลต่อการตัตสินใจบริโภคกลูตัไตโอน กลุ่มตัวอย่างเนันปัจจัยส่วนบุคคลเป็นหลักคือ ความไม่พอใจในผิวพรรณของตัวเอง และอยากมีผิวขาว เพราะเชื่อว่า คนผิวขาวนั้นดูมีเสน่ห์ และดูมีสุขภาพดี นอกจากนั้นตวามขาวยังส่งเสริมบุคลิกภาพต้านต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การสมัครงาน การศึกษา การหาคู่ครอง เป็นต้น ปัจจุบันคนที่มีผิวขาวจะน่าสนใจและสะดุดตา เพศตรงข้ามมากกว่าคนที่มีผิวคล้ำหรือผิวดำการรู้เท่าทันสื่อออนไสน์ของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 12 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ รู้เท่าทันสื่่อออนไลน์ จำนวน 6คน และกลุ่มที่ไม่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์ จำนวน 6คน โดยศึกษาการเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์และประเมิน การบริโภคอย่างเท่าทันการแบ่งปันข้อมูลและประสบการณ์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการวิเตราะห์และประเมินสื่อออนไลน์แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดอย่างเห็นขัดโดยกลุ่มที่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์นั้น พบว่าในขั้นตอนการวิเคราะห์และประเมินสื่อออนไลน์ที่อย่างถี่ถ้วนและเป็นเวลานานเพื่อหาข้อเท็จจริงในการบริโภคกลูต้าไธโอนจากเนื้อหาและสื่อในรูปแบบต่างๆ ที่ไต้รับจากสื่อออนไลน์และได้ศึกษาผลกระทบต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในการบริโภคกลูต้าไซโอน เพื่อไม่ให้ตนเองต้องตกเป็นเหยื่อและถูกหลอกลวงจากสื่อออนไลน์ส่วนกลุ่มที่ไม่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์นั้น พบว่าในชั้นตอนการการวิเศราะห์และประเมินของสื่อออนไลน์ โดยมุ่งผลต่อการดำเนินชีวิตปัจจุบันเป็นหลัก ไม่มีการคำนึงถึงผลกระทบที่จะตามมาในอนาคต ทำให้กลุ่มตัวอย่างมีการหาข้อเท็จจริงจากเนื้อหาและสื่อในรูปแบบต่งๆ รวมถึงผลกระทบที่ได้รับจากสื่อออนไลน์นั้นน้อยกว่ากลุ่มตัวอย่างที่รู้เท่าทันสื่อออนไลน์ ทำให้ต้องตกเป็นเหยื่อการหลอกลวงจากสื่อออนไลน์ และกลุ่มตัวอย่างยังไม่หยุตบริโภคแม้ไม่พอใจกับผลที่ได้ต่อตนเองขณะนั้นอีกด้วย ผลกระทบจากการบริโภกสูต้ไธโอน ของกลุ่มตัวอย่างที่บริโภคกลูต้ไรโอนเป็นเวลานานคือไม่สามารถออกไปทำกิจกรรมกลางแจ้งเป็นเวลานานได้ ทำให้การเข้าร่วมกิจกรรมกับคนในสังคมมีปัญหา เนื่องจากผลข้างเคียงของการบริโภคกลูต้าไฮโอน ส่งผลให้ผิวไวต่อแสง เกิดผื่นแดง ระคายเคือง ได้ง่าย กลุ่มตัวอย่างจึงต้องตุแลตัวเองมากเป็นพิเศษ ทางด้านผลกระทบทางต้านเศรษฐกิจ กลุ่มตัวอย่าง จำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในการบริโภคกลูต้าไรโอนเนื่องจากผลิตภัณฑ์มีราคาแพง |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1536 |
Appears in Collections: |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
apinya_pheimphul.pdf | 102.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.