Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1532
Title: การเลี้ยงเนื้อเยื่อว่านหางช้าง
Other Titles: In vitro culture of black berry lily (Belamcanda chinensis (L.) DC)
Authors: พรพรรณ, ศักดิ์สง่า
Keywords: การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ว่านหางช้าง
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บัณฑิตวิทยาลัย.
Issue Date: 2012
Publisher: maejo University
Abstract: การเลี้ยงเนื้อเยือส่วนยอดของว่านหางช้งบนอาหารสุตร Murashige and Skoog (19621 (MS) ที่ดัดแปลงโดยการเดิม (. . napthalene aceic acd (NAA) และ/หรือ 6 benzyiamno - purne (BA)ความเข้มข้น 0 0.5 1.0 15 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าเนื้อเยื่อส่วนยอดของว่านหางช้างสามารถจริญและพัฒนาต้านความสูงใด้มากที่สุดหลังจากเลี้ยงได้ 50 วัน บนอาหารสูตร MS ดัดแปลงโดยเดิม BA เข้มข้น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 12.90 เซนดิเมตร เพิ่มจำนวนหน่อได้ดีบนอาหารที่มี B4 เข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร จำนวนหน่อเฉลี่ยเท่ากับ 5.67 หน่อ จะเกิดรากใด้ดีเมื่อเลี้ยงบนอาหารที่มี NAA เข้มข้น1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร จำนวนรากเฉลี่ยเท่ากับ 25.83 ราก ความยาวรากมากที่สุดบนอาหารสูตร ความยาวรากเฉลี่ยเท่ากับ 13.17 เขนติเมตรเนื้อเยื่อส่วนยอดของว่านหางช้างสามารถพัฒนาเป็นตันที่สมบูรณ์ด้ดีที่สุดบนอาหารสูตร MS ดัดแปลงโดยเติม NAA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร รวมกับ BA 20 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 968 เซนติเมตร จำนวนหน่อเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 หน่อ จำนวนรากเฉลี่ยเท่กับ 1267 ราก ความยาวรากเฉลี่ยเท่ากับ 1.53 เซนติเมตรและจะเกิดแคลลัสบำริวณโคนยอดมากที่สุดเมื่อเลี้ยงบนอาหารที่มี NAA 20 มิลลิกรัมต่อลิตรร่วมกับ BA 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ความยาวของเส้นผ่าศูนย์กลางแคลลัสเท่ากับ 1.98 ซนติเมตร แคลลัสเป็นแบบ compact callus การเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนใบอ่อนของว่านหางช้างเพื่อชักนำให้เกิดแคลลัส โดยทำการ เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ดัดแปลงโดยเดิม NAA และหรือ BA ความเข้มข้น 0 1.0 2.0 3.0 4.0 และ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า บนซุตรอาหารที่มี NAA เข้มข้น 4มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถที่จะชักนำให้เนื้อเยื่อเกิดการเจริญและพัฒนาไปเป็นแคสลัสได้ดีที่อายุ 30 วัน ในขณะที่ สูตรอาหารอื่นๆ ไม่สามารถที่จะชักนำให้เกิดการเจริญและพัฒนาไปเป็นแคลลัสได้เลย และเมื่อนำแคลลัสมาเลี้ยงในสภาพขลล์แขวนลอยในอาหารสูตร MS ตัดแปลงโดยเติม NAA และ/หรือ BA ความเข้มข้น 0 0.5 1.0 1.5 และ 2.0 มิลลิกมต่อลิตรพบว่า เซลล์แขวนลอยสามารถเพิ่มปริมาณได้ดีที่สุด เมื่อทำการเลี้ยงในสูตรอาหาร Mร>ตัดแปลงโตยเติม NAA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพิ่มปริมาณซลล์แขวนลอยได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 480 คะแนน
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1532
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdf72.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.