Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณรงค์ฤทธิ์, เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา-
dc.date.accessioned2023-05-26T03:10:02Z-
dc.date.available2023-05-26T03:10:02Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1449-
dc.description.abstractวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่ได้หลังจากการเก็บเกี่ยว หรือจากกระบวนการแปรรูปมักถูก เผาทำลายทิ้ง ซึ่งวิธีการนี้นอกจากจะสูญเสียความร้อนที่ได้ไปอย่างเปล่าประโยชน์แล้ว ยังทำให้เกิด มลภาวะทางอากาศ และปัญหาฝุ่นควัน อย่างไรก็ตามการนำวัสดุเกษตรเหล่านี้มาใช้ก็มีปัญหาในการ ใช้งาน การจัดเก็บ และการขนส่ง เนื่องจากวัสดุเกษตรนั่นส่วนมากมีความหนาแน่นต่ำ ดังนั้นแนวทาง ที่สามารถแก้ปัญหาคือการนำวัสดุเกษตรเหล่านี้มาเพิ่มความหนาแน่นเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยใช้ กระบวนการอัตร้อนด้วยสกรู ซึ่งกระบวนการนี้สามารถผลิตซีวมวลอัดแท่งที่มีคุณภาพสูง มีความ สะดวกในการใช้งาน จัดเก็บ และการขนส่ง ซึ่งจะสามารถลดปัญหาการเผาทำลาย และเพิ่มมูลค่าให้ วัสดุเกษตรเหลือใช้ได้อย่างยั่งยืน โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศักยภาพของวัสดุทาง การเกษตรเพื่อนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง ปัจจัยที่มีผลต่อการอัดแห่งเชื้อเพลิงจากวัสดุเกษตร และ การนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งจะใช้กระบวนการอัตร้อน ด้วยสกรูที่มีมุมแตกต่างกัน อุณหภูมิอัด 300-330 330-360 แล ะ 360-390 องศาเซลเซียส วัสดุเกษตร 5 ชนิด ได้แก่ แกลบ แกลบหมัก กะลากาแฟ ก้านยาสูบเวอร์จีเนียร์ และเบอร์เลย์ ที่ผ่านการลดขนาด และควบคุมความชื้นไม่เกิน 129 จากผล การทดลองพบว่า ขนาดมุมของสกรู ส่งผลต่อการเลือกใช้วัสดุเกษตรเนื่องจากวัสดุเกษตรแต่ละชนิดมี องค์ประกอบ และลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกัน นอกจากนี้การเลือกอุณหภูมิที่ใช้อัดยังส่งผลต่อ คุณภาพของชีวมวลอัดแห่ง ซึ่งที่อุณหภูมิอัดสูงขึ้นพบว่าคำความหนาแน่น ความทนทาน คำต้านทาน แรงอัด และการต้านทานน้ำ มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ตามผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า มุมสกรู อุณหภูมิที่ใช้อัด และชนิดของวัสดุเกษตรต่างมีสภาวะในการผลิตที่แต่ก็ต่างกัน ดังนั้นการรู้วิธีการที่ ถูกต้องจะสามารถผลิตชีวมวลอัดแห่งที่มีคุณภาพที่ดีen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectการเพิ่มความหนาแน่นen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงทดแทนen_US
dc.subjectเศษวัสดุทางการเกษตรen_US
dc.subjectDensificationen_US
dc.subjectAlternative Fuelen_US
dc.subjectAgricultural Residueen_US
dc.titleการใช้ชีวมวลอัดแท่งจากเศษวัสดุเกษตรเป็นเชื้อเพลิงทดแทนสำหรับอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeUTILIZATION OF DENSIFIED BIOMASS FROM AGRICUTURAL RESIDUES AS RENEWABLE FUELS FOR INDUSTRYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ENG-Dissertation

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
narongrit_seniwong_na_ayutthaya.pdf84.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.