Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1438
Title: การประยุกต์ใช้ความร้อนจากกระบวนการผลิตไบโอชาร์สำหรับระบบอบแห้ง
Other Titles: APPLICATION OF HEAT FROM BIOCHAR PRODUCTION PROCESS FOR DRYING SYSTEM.
Authors: ทรงชัย, ปานแก้ว
Keywords: ไบโอชาร์
เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
ระบบอบแห้ง
Biochar
heat exchanger
drying system
Issue Date: 2021
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: งานวิจัยนี้ศึกษาการประยุกต์ใช้ความร้อนจากกระบวนการผลิตไบโอซาร์สำหรับระบบอบแห้ง และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของระบบ โดยระบบอบแห้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ ได้แก่ ส่วนผลิตไบโอชาร์ ส่วนเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน และโดมอบแห้งแบบพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งงานวิจัยนี้มุ่งเน้นในส่วนของประสิทธิภาพทางความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน และโดมอบแห้งแบบพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนในงานวิจัยนี้เป็นแบบของไหลมีทิศทางตั้งฉากกัน ใช้สารทำงาน 2 ชนิด ได้แก่ น้ำ และสารทำงานที่เป็นสารผสมระหว่าง น้ำผสมเอทิลีน ไกล คอล (อัตราส่วนโดยปริมาตร 70 : 30) อุณหภูมิสารทำงาน 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส อัตราการไหลสารทำงาน 2, 4 และ 6 ลิตรต่อนาที ความเร็วลม 0.32, 0.71 และ 1.7 เมตรต่อวินาที ขนาดโดมอบแห้งแบบหลังงานแสงอาทิตย์ 3.5 เมตร x 4 เมตร x 2.79 เมตร พบว่า ชนิดสารทำงาน อุณหภูมิ การทำงาน อัตราการไหลสารทำงาน และความเร็วลม เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพทางความร้อนของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบของไหลมีทิศทางตั้งฉากกัน ตัวแปรที่ทำให้ประสิทธิภาพที่ดี “สดสำหรับระบบนี้ คือ การทำงานที่เป็นสารผสมระหว่าง น้ำผสมเอทิลีน ไกลคอล อุณหภูมิสาร ทํางาน 80 องศาเซลเซียส อัตราการไหล 2 ลิตรต่อนาที และความเร็วลม 1.7 เมตรต่อวินาที โดยมี ประสิทธิภาพสูงสุด 65.88 % ความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ของระบบอบแห้ง เมื่อใช้น้ำผสมเอทีลีน โอเคเอส เป็นการทำงาน มีระยะเวลาอื่นบนของโครงการเท่ากับ 7 เดือน 12 วัน
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1438
Appears in Collections:ENG-Dissertation

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
songchai_pankaew.pdf54.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.