Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1306
Title: | การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอที่เฉพาะกับยีนแก้ความเป็นหมันของเรณู ในข้าวไทยเพื่อใช้ในการผลิตข้าวลูกผสม |
Other Titles: | Development of DNA Marker Specific to Cytoplasmic Male Sterility Restorer Gene in Thai Rice for Hybrid Rice Production |
Authors: | แสงทอง, พงษ์เจริญกิต |
Keywords: | ข้าวไทย ยีนแก้ความเป็นหมันของเรณู ยีนเครื่องหมายพีพีอาร์ pentatricopeptide repeat or PPR gene เครื่องหมายดีเอ็นเอ (ยืนเครื่องหมาย) Thai rice pollen fertility-restoring gene pentatricopeptide repeat (PPR) marker gene DNA marker |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Chiangmai: Maejo University |
Abstract: | ระบบแก้ความเป็นหมันของเรณู โดยยืนในไซโทพลาซึม (wild abortive/ WA cytoplasmic male sterility or WA-CMS) ควบคุมด้วยยีนแก้ความเป็นหมั้นของเรณู (pollen fertility-restoring gene: R) ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาความต่างของยืนเครื่องหมายแก้ความเป็นหมั้นตำแหน่ง R4 และ RE ที่ตั้งอยู่บนโครโมโซมแท่งที่ 10 และ 1 ตามลำดับ ในข้าวบางพันธุ์โดยสามารถแยกยืน เครื่องหมายที่ตำแหน่ง Rf 3 ขึ้น และตำแหน่ง R3 4 ยืน จากข้าวไทย จากการเปรียบเทียบลำดับ เบสของยืนเครื่องหมายทั้ง 7 ยืน ดังกล่าว พบบริเวณที่ต่างกัน เพื่อนำมาจำแนกกลุ่มพันธุ์ข้าวที่ สามารถแก้ความเป็นหมั้น 2 บริเวณ คือ บริเวณลำดับเบสเพิ่มขึ้นหรือลดลง 105 คู่เบส ในยีน เครื่องหมายโมเลกุล PPR9 (pentatricopeptide repeat) และบริเวณเปลี่ยนแปลงลำดับเบสเพียง | เบส (SNP) ที่เบส 1,392 ในยืนเครื่องหมาย PPR10 ซึ่งเป็นยืนเครื่องหมายที่ตำแหน่ง R4 จึงได้ ออกแบบเป็นเครื่องหมาย InDel PPR9 และ SNP PPR10 เมื่อทดสอบยืนเครื่องหมายจำเพาะกับยืน PPR9 3 เครื่องหมาย คือ InDel PPR9, RMS PPR9 ) และ RMS PPR9 4 พบว่าแต่ละเครื่องหมาย มึความถูกต้องในการจำแนกตามกลุ่มของพันธุ์ข้าวที่สามารถแก้ความเป็นหมัน 81.88 และ 94 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ส่วนเครื่องหมาย SNP PPR10 มีความถูกต้องในการจำแนกพันธุ์ตามกลุ่ม ของข้าวที่มีความสามารถในการแก้ความเป็นหมันเรณู 87 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้พบยืนเครื่องหมาย RM3148 มีความถูกต้องในการจำแนกพันธุ์ตามกลุ่มของข้าวที่มีความสามารถในการแก้ความเป็นหมันเรณูตำแหน่ง R3 สูงที่สุด คือ 75 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นยืนเครื่องหมายที่เป็นประโยชน์ใน การศึกษาการแก้ความเป็นหมันเรณู โดยยืนในไซโทพลาซึมของข้าวไทยและในการปรับปรุงข้าวไทยพันธุ์ดีให้มีความสามารถในการแก้ความเป็นหมันเรณูในยีนทั้ง 2 ตำแหน่ง คือ ยืนเครื่องหมาย จำเพาะกับยีน RMS PPR9 4 และ เครื่องหมาย RM3148 |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1306 |
Appears in Collections: | RAE-Technical Report |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
saengthong_pongcharoenkit.pdf | 44.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.