Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1278
Title: อิทธิพลของ Progesterone : Estronge ต่อการเพิ่มจำนวนลูกแกะ
Other Titles: Effect offprogesterone : Estrogn on increasing, number of lamb
Authors: ปลีโรจน์ ปลื้มสำราญ และเพิ่มศักดิ์ ศิริวรรณ
Keywords: อิทธิพลของ progsterone
การเพิ่มจำนวนลูกแกะ
ลูกแกะ
Issue Date: 1983
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: ฮอร์โมน progesterone และ estrogen มีอิทธิพลต่อการฝังตัวของตัวอ่อนในมดลูกหลังการผสมพันธุ์ของสัตว์เมื่อใช้ในอัตราส่วนที่พอเหมาะ หากนําเอามาใช้กับแกะบางสายพันธุ์ซึ่งอาจมีการตกไข่ครั้งละ 2 ฟอง และไข่ได้รับการผสมทั้งหมดจะทําให้แกะแม่มีโอกาสออกลูกได้ ครั้งละ 2 ตัว เพิ่มขึ้น ในการทดลองนี้ใช้แกะเพศเมียที่ผสมพันธุ์แล้วทั้งหมด 64 ตัว ซึ่งได้รับการเลี้ยงดูตามปกติในฝูง แกะแม่ทั้งหมดได้รับการฉีดฮอร์โมน Progesterone : estrogen ในอัตราส่วน 0:0, 6:3, 12:6 และ 20:10 (mg:ug) ในช่วงวันที่ 16-17, 18-19, 20-21 และ 22-23 หลังการผสมพันธุ์การฉีดฮอร์โมนตามอัตราส่วนดังกล่าวและในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กันนั้น ทําเป็น 2 ซ้ำ แต่ละซ้ำใช้แกะแม่จํานวน 2 ตัว ผลจากการทดลองฉีดฮอร์โมนทุกระดับตามช่วงระยะเวลาต่าง ๆ กันนั้น ปรากฏว่าแกะแม่ออกลูกครั้งละ 1 ตัวทั้งหมด โดยไม่มีแกะแม่ตัวใดให้ลูกครั้งละ 2 ตัวเลย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสายพันธุ์ของแม่แกะที่ใช้ในการทดลองสามารถที่น่าสังเกตอยู่บ้างคือลูกแกะที่คลอดจากแกะแม่ที่ได้รับฮอร์โมนทุกระดับมีความสมบูรณ์กว่าลูกแกะซึ่งคลอดจากแม่ที่ไม่ได้รับฮอร์โมน Progesterone and estrogen affected the attachment of developing featus to the wall of the uterus after conception. Progesterone, when being applied in the right proportion to particular breed that able to produce two eggs at the same time, the mother can deliver two lamb each time if both eggs had been fertilized. In this experiment, 64 conceived females had been treated under regular feeding programme. Progesterone : estrogen of the ratio 0:0, 6:3, 12:6 and 20:10 (mg:ug) were applied to all of them on the 16-17, 18-19, 20-21 and 22-23 day of the month after the conception had taken place. Two replications of different ratios on various detes were carried out with two females each time. The results show that all females delivered only one lamb. None of them is able to produce two lamb at the sametime. These could be resulted from the female breed being used in the programme could only produce one egg at a time. However, it was observed that the baby lamb delivered from the treated females are more healthy than the one delivered from the controlled femle one.
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1278
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RM-2563-0026-346571.PDF1.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.