Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYanping Maen
dc.contributorYanping Math
dc.contributor.advisorNapat Ruangnapakulen
dc.contributor.advisorณภัทร เรืองนภากุลth
dc.contributor.otherMaejo University. Maejo University International Collegeen
dc.date.accessioned2022-07-19T06:39:22Z-
dc.date.available2022-07-19T06:39:22Z-
dc.date.issued2022/06/13-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1232-
dc.descriptionMaster of Arts (Master of Arts (Tourism Management))en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการการท่องเที่ยว))th
dc.description.abstractAt present, in the tourism research system, tourist behavior is an important field for research. Tourists are not only the major participants in the tourism industry, but also the core subjects of tourism research, which are highly concerned by the academic circles at home and abroad. With the rapid development of China’s society and economy, the quality of people’s material life and environmental standards have been significantly improved, and the demand for tourism is also changing. Chinese tourism project to Thailand is an emerging project developed in recent years. Chinese people’s purchase of tourism products to travel in Thailand has its own attribute performance, but the domestic research of this tourism project lacks the depth and breadth. According to the existing domestic literature, the previous research mainly focuses on tourists’ motivation and obstacles, the relationship between tourism projects and cross-strait economy, policies and other elements. With the theoretical perspective as the starting point, this paper took tourists from Guangxi to travel in Thailand as the research object, carrying out a comprehensive analysis of their behavior characteristics. It fulfilled the goal of constructing the factor system with individual behavior as the core, involving demographic, psychological and behavior characteristics. On this basis, the author analyzed the behavior characteristics and behavioral differences of the research object from three dimensions, including psychological factors, characteristics of tourism activities and demography. After mastering the disadvantages and deficiencies of China’s current tourism projects to Thailand, the author put forward corresponding improvement strategies concerning the design and development of tourism products, the construction of tourist destinations and the guidance from the government, aiming to improve the tourism performance and ensure the sustainable and stable development of Guangxi’s tourism to Thailand.  en
dc.description.abstractปัจจุบัน ในระบบการศึกษาการท่องเที่ยวนั้น พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวถือเป็นส่วนสำคัญหลักในการนำมาศึกษาวิเคราะห์ นักท่องเที่ยวนั้น นอกจากมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็นหลักแล้ว ยังเป็นหัวใจหลักของการศึกษาด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญและได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากนักวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศอีกด้วย ประกอบกับการพัฒนาอย่างรวดเร็วของสังคมและเศรษฐกิจของประเทศจีน ระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ไม่ว่าจะเป็นทางด้านเทคโนโลยีหรือสิ่งแวดล้อมของประชาชนก็เพิ่มขึ้นและพัฒนาอย่างเห็นได้ชัด ส่งผลให้ความต้องการทางด้านการท่องเที่ยวก็เปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง โดยเฉพาะการท่องเที่ยวจีนกับประเทศไทยถือเป็นโครงการใหม่ในการพัฒนาล่าสุดในช่วงระยะไม่กี่ปีมานี้ เป็นที่ทราบกันดีในด้านการท่องเที่ยวในส่วนของการเลือกซื้อสินค้านั้น ประชาชนจีนจะเลือกซื้อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของไทยที่มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ข้อนี้จะเห็นได้ชัดแต่ในด้านของโครงการท่องเที่ยวนั้น ในปัจจุบันนักวิชาการในประเทศยังขาดข้อมูลในเชิงลึกและตัวอย่างที่หลากหลาย จากการค้นพบผ่านการเก็บรวบรวมเอกสารภายในประเทศพบว่ามีเนื้อหาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องแรงจูงใจและอุปสรรคในการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ นโยบายด้านความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ เป็นต้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้มุมมองเชิงทฤษฎีเป็นจุดเริ่มต้น โดยมีนักท่องเที่ยวจากกว่างซีที่ไปเที่ยวประเทศไทยเป็นกรณีศึกษากลุ่มตัวอย่าง โดยการวิเคราะห์เชิงลึกในลักษณะของพฤติกรรมด้านต่างๆอย่างละเอียด โดยในขั้นตอนแรก นำพฤติกรรมของแต่ละบุคคลมาเป็นเป้าหมายของการสร้างระบบปัจจัยเป็นหลัก ลักษณะของบุคคลที่ได้ไปสัมผัส ลักษณะทางจิตวิทยา สามพฤติกรรมหลักของคนส่วนใหญ่ โดยบนพื้นฐานต่างๆเหล่านี้ โดยผู้วิจัยได้แบ่งลักษณะพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างออกเป็นสามลำดับ ทำการวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมนั้นรวมถึงปัจจัยทางจิตวิทยา และลักษณะพิเศษของกิจกรรมการท่องเที่ยวและบุคคลที่ได้เข้าไปสัมผัสเกี่ยวข้อง เพื่อเข้าใจข้อเสียหรือข้อบกพร่องของโครงการท่องเที่ยวจีนปัจจุบันในประเทศไทย เพื่อนำไปพัฒนาในการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว ออกแบบสร้างอาคารสถานที่ท่องเที่ยว รับรู้เข้าใจมุมมองของรัฐบาล พร้อมเสนอกลยุทธ์การปรับปรุงที่สอดคล้องกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท่องเที่ยว เพื่อรับประกันอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของกว่างซีที่มีต่อประเทศไทยในการติดตามการพัฒนาที่ยั่งยืนและมั่นคงต่อไปในอนาคตth
dc.language.isoen-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectพฤติกรรมที่เป็นแรงจูงใจth
dc.subjectพฤติกรรมนักท่องเที่ยวth
dc.subjectท่องเที่ยวไทยth
dc.subjectbehavior motivationen
dc.subjecttourists’ behavioren
dc.subjecttourists from Guangxi to travel in Thailanden
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleRESEARCH ON THE TOURISM MOTIVATION OF TOURISTS  FROM GUANGXI TO TRAVEL IN THAILANDen
dc.titleงานวิจัยแรงจูงใจการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวจากกว่างซี สู่การท่องเที่ยวในประเทศไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Maejo University International College

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6216301018.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.