Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/118
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHATCHAYA SRIBUREE | en |
dc.contributor | ฉัตรชญา ศรีบุรี | th |
dc.contributor.advisor | Thammaporn Tantar | en |
dc.contributor.advisor | ธรรมพร ตันตรา | th |
dc.contributor.other | Maejo University. School of Administrative Studies | en |
dc.date.accessioned | 2020-01-17T04:08:36Z | - |
dc.date.available | 2020-01-17T04:08:36Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/118 | - |
dc.description | Master of Public Administration (Master of Public Administration (Public Policy and Public Management)) | en |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายและการบริหารสาธารณะ)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this qualitative study were to explore: 1) re-guilty situations and its important causes of drug addict prisoners in Lamphun prison ;2) integrated managerial administration and network party organizations in Lamphun province; and 3) proposition on managerial administration to prevent re-guilty of drug addict prisoners. Key informants comprised prison administrators, organization representatives, local leaders, prisoners, and those who used to be a prisoner. Semi-structured interview schedule was used for data collection. Results of the study revealed that Lamphun prison had increased re-guilty drug addict prisoners. This was due to the following causes: family acceptance, community acceptance, agency/organization acceptance, lack of an opportunity in occupation, self-adaptation of drug addict prisoners, materialism and consumerism, friends, and personal habit. It was found that Lamphun prison had the managerial administration under the policy of Department of corrections, Ministry of Justice. There was a guideline for personnel management to have potentials in many aspects based on rules/regulations, code of conduct, and good organization culture. Regarding the proposition, it was found as follows: 1) It should have integration with neighboring countries in terms of policy and strategic (sea and land). 2) The government should establish a special agency to be directly responsible for this matter. 3) It should have integration at the ministry level in terms of policy setting, strategic planning, concrete project implementation. Besides, it should have a clear guideline for practical integration for agencies in the area with adequate budgets. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การกระทำผิดซ้ำและสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังคดียาเสพติดเรือนจำจังหวัดลำพูน 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการเชิงบูรณาการกับองค์กรภาคีเครือข่ายในจังหวัดลำพูน 3) เพื่อศึกษาหาข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการแบบบูรณาการเพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังคดียาเสพติด ผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ผู้บริหารเรือนจำ ผู้แทนองค์กร ผู้นำท้องถิ่น ท้องที่ ผู้ต้องขังและอดีตผู้ต้องขัง โดยใช้แบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่าในเรือนจำจังหวัดลำพูนมีผู้ต้องขังที่กระทำผิดซ้ำเกี่ยวกับคดียาเสพติดเพิ่มมากขึ้นและสาเหตุที่สำคัญที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดซ้ำประกอบด้วย การยอมรับของครอบครัว การยอมรับของคนในชุมชน การยอมรับของหน่วยงานและองค์กร การขาดโอกาสในการประกอบอาชีพ การปรับตัวของผู้ต้องขัง ค่านิยมทางด้านวัตถุนิยมบริโภคนิยม การคบค้าสมาคมกับเพื่อน และพื้นฐานนิสัยส่วนบุคคลของผู้ต้องขัง ในด้านการบริหารจัดการเชิงบูรณาการของเรือนจำจังหวัดลำพูนกับองค์กรภาคีเครือข่ายในจังหวัดลำพูนพบว่า มีการบูรณาการการบริหารจัดการดำเนินงานและปฏิบัติงานร่วมกับหน่วงงานองค์กรทั้งทางภาครัฐและเอกชน สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน ในส่วนของเรือนจำมีการบริหารจัดการด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร ด้านวัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ รวมถึงมีการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมให้กับเจ้าหน้าที่และผู้ต้องขัง ผลการวิจัยเกี่ยวกับข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการแบบบูรณาการเพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำ ควรมีการบูรณาการเชิงนโยบายและการวางแผนยุทธศาสตร์กับประเทศเพื่อนบ้านอย่างจริงจังในการกำจัดแหล่งผลิตยาเสพติดทั้งทางบก และทางทะเล มีการบูรณาการในระดับกระทรวง หน่วยงาน องค์กรและชุมชนในพื้นที่อย่างชัดเจน และต่อเนื่องภายใต้งบประมาณที่เพียงพอ | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | การบูรณาการ | th |
dc.subject | การกระทำผิดซ้ำ | th |
dc.subject | ข้อเสนอเชิงการบริหารจัดการ | th |
dc.subject | เรือนจำ | th |
dc.subject | integration | en |
dc.subject | re-guilty | en |
dc.subject | administrative proposition | en |
dc.subject | prison | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | INTEGRATED MANAGERIAL ADMINISTRATION FOR THE PREVENTION OF RE-GUILTY OF DRUG ADDICT PRISONER: A CASE STUDY OF LAMPHUN PRISON | en |
dc.title | การบริหารจัดการเชิงบูรณาการเพื่อป้องกันการกระทำผิดซ้ำ ของผู้ต้องขังคดียาเสพติด กรณีศึกษา: เรือนจำจังหวัดลำพูน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | School of Administrative Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6005404001.pdf | 5.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.